Page 23 - วิชาการพยาบาลสาธารณภัยเล่มที่ 3 : สถาบันการพยาบาลศรีสวรินทิรา สภากาชาดไทย
P. 23

ปฏิกิริยาตอบสนองทางดานจิตใจของผูประสบภัย
                      ปฏิกิริยาทางจิตใจของผูประสบภัยที่เกิดขึ้นเมื่อเผชิญกับภัยพิบัติแบงไดเปน 4 ระยะ
                      1. ระยะมุงมั่นเพื่อเอาชนะ (Heroic stage) ในระยะนี้ผูประสบภัยจะตอสูเพื่อความอยูรอดของตนเอง

               และทุมเทในการชวยผูอื่น โดยไมรูสึกเหน็ดเหนื่อย ซี่งระยะนี้สามารถเกิดขึ้นหลังเกิดเหตุการณ 2-3 ชั่วโมง บาง
               กรณีตอเนื่องเปนเวลา 2-3 วัน
                      2. ระยะแหงความปติยินดี (Honeymoon stage) ระยะนี้ใชเวลา 2-3 สัปดาห หรือ 2-3 เดือน

               เปนระยะที่ผูประสบภัยมีความรูสึกเห็นอกเห็นใจซึ่งกันและกัน ระยะนี้ผูประสบภัยไดรับความชวยเหลือ
               สนับสนุนจากหนวยงานของรัฐ องคกรการกุศล สื่อมวลชน ทำใหเกิดความหวัง กำลังใจในการดำเนินชีวิต

               รวมทั้งเกิดความรูสึกไมคอยเดือดรอนใจและไมรับรูปญหาตาง ๆ ตามความเปนจริง
                      3. ระยะผิดหวังและชมชื่น (Disillusionment stage) ระยะนี้เกิดขึ้นหลายเดือนตอมาหรือนานเปนป
               ผูประสบภัยจะรูสึกโกรธและผิดหวังตอองคกรตางๆ เจาหนาที่ไมใหความรวมมมือในสิ่งที่ตนตองการหรือไม
               เปนไปตามที่คำดหวังไว หรือไดรับอยางไมเทาเทียมกัน โดยจะเกิดความรูสึกอิจฉา ไมเปนมิตร ความมีน้ำใจ

               ชุมชนจะหมดไป แตจะเกิดความรูสึกเห็นแกตัวมากขึ้น ในขณะที่ความรูสึกทอแท เศรา ตอความทุกขยาก
               ลำบากจะเกิดตามมา

                      4. ระยะแหงการฟนฟูบูรณะ (Reconstruction stage) ระยะนี้อาจใชเวลา 1-3 ป หลังจาก
               ผูประสบภัยเริ่มฟนตัวกลับมาชวยเหลือตนเอง สรางฐานะขึ้นมาใหม เกิดการเรียนรู มีชีวิตที่แข็งแกรงขึ้น


               ปฏิกิริยาตอบสนองทางดานจิตใจของผูประสบภัย

                      1. ปฏิกิริยาทางจิตใจตอภัยพิบัติแบบปกติ ปฏิกิริยาตอไปนี้เปนการตอบสนองตอภัยพิบัติ ซึ่งถือวาเปน
               ปฏิกิริยาตามธรรมชาติและ เปนเรื่องปกติ สำหรับผูประสบภัยพิบัติ
               ปฏิกิริยาทางดานรางกาย

                    •  เมื่อยลา                                 •  ความรูสึกทางเพศลดลง

                    •  นอนไมหลับ                                •  ปวดศีรษะ
                    •  ระบบประสาทถูกกระตุนมากเกินไป             •  ตื่นเตนตกใจงาย

                    •  มีปญหาดานสุขภาพกาย                      •  เบื่ออาหาร

                    •  ภูมิคุมกันของรางกายลดลง                 •  ระบบยอยอาหารผิดปกติ


               ปฏิกิริยาทางดานอารมณ

                    •  ช็อค                                      •  เศราโศก เสียใจ

                    •  โกรธ                                      •  ชวยเหลือตนเองไมได
                    •  สิ้นหวัง มึนชา                            •  หงุดหงิดงาย

                    •  ไรความรูสึก ไรอารมณ                   •  ไมรูสึกสนุกสนานในสิ่งที่เคยทำ

                    •  หวาดกลัว รูสึกไมปลอดภัย                 •  รูสึกผิด **

                    •  สับสน / แยกสวน เชนรูสึกเหมือนกำลังฝนไป รูสึกเหมือนกำลังเฝาดูตนเองจากภายนอก **



                                                                                                       23
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28