Page 28 - วิชาการพยาบาลสาธารณภัยเล่มที่ 3 : สถาบันการพยาบาลศรีสวรินทิรา สภากาชาดไทย
P. 28

การฟงอยางตั้งใจ หมายถึง การมองประสานสายตา ตั้งใจฟง มีสติและพยายามจับประเด็น
               สำคัญในปญหาของผูประสบภัย ไมแทรกหรือขัดจังหวะ ถาในกรณีผูประสบภัยพูดมาก และวกวน ใชการสรุป

               ประเด็นปญหาเปนชวง ๆ เพื่อใหเกิดความเขาใจ
                             สิ่งสำคัญคือการใสใจการแสดงออกทางอารมณของผูประสบเหตุการณรุนแรงทั้ง verbal และ

               nonverbal โดยแสดงทาทีเปนมิตรและอบอุน การฟงอยางใสใจจะทำใหผูประสบภัยรูสึกสงบ ลดความรุนแรง
               ทางอารมณ เมื่อารมณสงบความรูสึกมั่นคงปลอดภัยจะเกิดขึ้น
                            3.2 การสะทอนความรูสึก (reflection) การสะทอนความรูสึกเปนเทคนิคที่ผูเขาชวยเหลือ
               สะทอนอารมณความรูสึกของผูประสบภัยออกมา โดยจะทำใหผูประสบภัยไดตระหนัก รับรูถึงอารมณที่เกิดขึ้น

               ของตัวเองวากำลังรูสึกอะไรอยู ทำใหลดอารมณที่รุนแรง พลุงพลานลงได
                            3.3 การเงียบ (silence) การเงียบเปนชวงเวลาระหวางหยุดที่ไมมีการสื่อสารดวยวาจาระหวาง

               ผูใหการชวยเหลือและผูประสบภัย การเงียบมี 2 ลักษณะคือ การเงียบที่ไมมีเสียงใด ๆ จากทั้งสองฝาย เปนการ
               เงียบที่แสดงใหเห็นวาผูพูดตองการเวลาเพื่อคิด
                            3.4 การทวนซ้ำ (paraphrase) การทวนซ้ำเปนการพูดในสิ่งที่ผูประสบภัยไดบอกเลาอีกครั้ง

               หนึ่งโดยไมไดมีการเปลี่ยนแปลงไมวาจะเปนภาษาหรือความรูสึกที่แสดงออกมาเพื่อ แสดงวาผูใหการชวยเหลือ
               สนใจฟง ชวยใหผูประสบภัยเปดเผยตนเองมากขึ้นและพูดตอไป รวมทั้งเปนการตรวจสอบวาสิ่งที่ผูใหการ
               ปรึกษาไดยินนั้นถูกตองหรือไม

                            3.5 การใหขอมูล (giving information) การใหขอมูลแกผูประสบภัยควรมีการสอบความ
               ตองการของผูประสบภัยกอนขอมูลที่จาเปนสาหรับผูประสบภัย เชน
                                 3.5.1 ความเครียดและปฏิกิริยาที่อาจเกิดขึ้นพรอมวิธีการปฏิบัติตัว ความตึงเครียดและ

               ความรูสึกกังวลเปนสิ่งที่พบบอยหลังเกิดเหตุการณวิกฤต และสามารถขัดขวาง การปรับตัวตอสิ่งตาง ๆ ในการ
               ดำเนินชีวิต ทำใหการฟนตัวชาลง ไมมีทางออกงาย ๆ ที่จะจัดการกับปญหาหลังเผชิญเหตุการณวิกฤต แตอาจ

               ใชวิธีการผอนคลายเบื้องตน โดยการฝกผอนคลายระหวางวัน จะชวยใหหลับงายขึ้น มีสมาธิ มีพลังงายที่จะ
               จัดการกับชีวิต การผอนคลายรวมถึงการคลายกลามเนื้อ ฝกหายใจ ฝกสมาธิ วายน้ำ ฝกยืดกลามเนื้อ โยคะ
               สวดมนต ออกกำลังกาย

                                 3.5.2 แหลงชวยเหลือในดานตาง ๆ ทั้งของภาครัฐและเอกชน ควรใชวิธีที่ทำให
               ผูประสบภัยเกิดความรูสึกวาไดรับการดูแลอยางตอเนื่องโดย
                                 - ใหชื่อและขอมูลการติดตอกับหนวยงานสาธารณสุขและสุขภาพจิตชุมชนหรือ

               อาสาสมัครสาธารณสุขหรือองคกรอื่นใหการดูแลหลังเกิดภัยใน
                                 - แนะนำผูประสบภัยกับบริการดานสุขภาพ เจาหนาที่บรรเทาทุกขคนอื่น ๆ เขาจะไดรู
               ชื่อผูประสบภัย

                             3.6 การสื่อสารโดยการสัมผัส (Touching skill) การสัมผัสทางกาย เชน แตะบา แตะมือ บีบ
               นวดเบา ๆ โดยคำนึงถึงความเหมาะสม เชน เพศ วัย สังคมและวัฒนธรรม เชน ชายมุสลิมจะไมสัมผัสเพศตรง

               ขามที่ไมไดอยูในครอบครัวของตน ในกรณีนี้อาจจะขออนุญาตนั่งเปนเพื่อนใกล ๆ (การขออนุญาตเปนการเปด
               โอกาสใหอีกฝายตัดสินใจทำใหเปนการเสริมสรางความรูสึกควบคุมสถานการณไดของผูประสบภัย) การสัมผัส
               จะทำใหผูประสบภัยรูสึกอบอุนใจ รูสึกปลอดภัย มีที่พึ่งพา





               28
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33