Page 30 - วิชาการพยาบาลสาธารณภัยเล่มที่ 3 : สถาบันการพยาบาลศรีสวรินทิรา สภากาชาดไทย
P. 30

4.) ซึมเศรา (depression) เปนระยะแสดงความรูสึกเสียใจตอการสูญเสียที่เกิดขึ้น เนื่องจาก
               คิดวาไมสามารถจัดการแกไขกับปญหาที่เกิดขึ้นไดแลว เปนชวงเวลาที่มีความเสี่ยงในการที่ผูเสียใจจะกระทำ

               การใด ๆ อันเปนอันตรายตอตนเองหรือผูอื่น เชน การทำรายตนเองหรือ ทำรายผูอื่น
                              5.) ยอมรับ (acceptance) เปนระยะที่ยอมรับการสูญเสีย เมื่อเวลาผานไป ความรูสึกและ

               อารมณเศรา รวมถึงสติคอย ๆ ฟนกลับมา รวมกับการไดรับขอมูลที่ทำใหทราบวา อยางไรเสียก็คงไมสามารถ
               จะแกไขการสูญเสียที่เกิดขึ้นไดแลวการยอมรับจะคอยๆเกิดขึ้นในที่สุด อยางไรก็ตาม แมจะเกิดการยอมรับ
               แลวแตอาจจะกลับไปสูขั้นตอนของการซึมเศราสลับไปมาไดถาขาดการประคับประคองจิตใจใหเขมแข็งขึ้น
                              ป3: ประเมินความตองการทางสังคมโดยเฉพาะการติดตอประสานญาติผูใกลชิด แหลง

               ชวยเหลือทางสังคม
                              4.3 S : Skills

                              หมายถึง ทักษะในการชวยเหลือผูประสบภัย เพื่อลดความแปรปรวนทางอารมณ และสราง
               ศักยภาพในการจัดการปญหา ประกอบดวยหลักการ “เรียกสติ ลดความเจ็บปวด เสริมสรางทักษะ”

                              • เรียกขวัญคืนสติ เชน ใชเทคนิค Breathing exercise, Grounding, Touching skill และ
               การนวดสัมผัส

                              • ลดความเจ็บปวดทางใจ คือ active listening skills โดยใหระบายความรูสึก ชวยใหเขาใจ
               ความรูสึกของตนเอง

                              • เสริมสรางทักษะ เพื่อใหเกิดการเรียนรูวิธีการจัดการอารมณของตนเองอยางเหมาะสม
                              4.4 E : Education
                              หมายถึง การใหสุขภาพจิตศึกษาและขอมูลที่จำเปนแกผูประสบภัย ประกอบดวย 3 ต ไดแก

                              ต.1 ตรวจสอบความตองการโดยไตถามถึงขอมูลและตรวจสอบความตองการชวยเหลือที่
               จำเปนและเรงดวน
                              ต.2 เติมเต็มความรู ใหความรูเบื้องตนเกี่ยวกับอาการที่เกิดขึ้น การปฏิบัติตัวเพื่อลด

               ความเครียด แหลงชวยเหลือตาง ๆ ทั้งของภาครัฐ และเอกชน
                              ต.3 ติดตามตอเนื่อง รวมกันวางแผนและหาแนวทางในการรับการชวยเหลือตาง ๆ เพิ่มเติม


                              นอกจากกรมสุขภาพจิตจะใชการปฐมพยาบาลดานจิตใจตามหลักการของ PFA : EASE
               สำหรับบุคลากรทีมสุขภาพแลว ยังพบวา มีการนำหลักปฏิบัติงาย ๆ 3L สำหรับบุคลกรสาธารณสุขและผูสวน

               เกี่ยวของที่เปนดานหนาในการดูแลสุขภาพประชาชนในชุมชน อาทิเชน เจาหนาที่สาธารณสุข อสม./อสส.
               อาสาสัคร/จิตอาสา ตลอดจน ผูนำ/แกนนำชุมชน กำนัน ผูใหญบาน ซึ่งเปนกำลังสำคัญในการนำหลักการ
               เบื้องตน นำไปใชในการดูแลดานจิตใจประชาชนในพื้นที่ของตนเองได

                              3L คือ 1. สอดสองมองหา (Look) มองหาคนที่ตองการความ ชวยเหลือเรงดวน เชน โศกเศรา
               เสียใจรุนแรง กินไมได นอนไมหลับ สำรวจกลุมเสี่ยง บุคลาการสาธารณสุข ผูชวยเหลือคนไข คนขับรถ
               เจาหนาที่รักษาความปลอดภัย แมบาน 2. ใสใจรับฟง (Listen) มีสติรับฟงอยางตั้งใจ ใชภาษากาย เชน สบตา

               จับมือ สัมผัส เพื่อชวยใหบอกเลา อารมณ ความรูสึก คลายความทุกขในใจ และจัดการอารมณใหสงบ 3. สง






               30
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35