Page 25 - วิชาการพยาบาลสาธารณภัยเล่มที่ 3 : สถาบันการพยาบาลศรีสวรินทิรา สภากาชาดไทย
P. 25

ความผิดปกติทางจิตที่พบไดบอยในผูประสบภัย
                      1. ภาวะ ASD (Acute Stress Disorder) ผูประสบภัยจะมีอาการหลักที่พบไดบอยคือ รูสึกสับสน มึน
               ชา เฉยชา คิดวนเวียนถึงเหตุการณซ้ำ ๆ หลีกหนีจากสถานการณ/สิ่งเราที่เกิดขึ้น สะดุง ผวาตกใจงาย มีปญหา

               ในการทำงาน อาการตาง ๆ เหลานี้เกิดขึ้นใน 4 สัปดาหแรกหลังเหตุการณ และอาการเหลานี้มักหายไดเอง
                      2. ภาวะ PTSD (Post Traumatic Stress Disorder) เดิมตามเกณฑการวินิจฉัยโรค Diagnostic and
               Statistical Manual of Mental Disorders ฉบับที่ 4 (DSM-4)1ของสมาคมจิตแพทยอเมริกันจัดอยูในกลุม

               โรควิตกกังวล ภายหลังปรับปรุงเกณฑการวินิจฉัยโรค DSM-5 ในปค.ศ. 2013 ไดจัดโรคนี้ใหมอยูในกลุม
               Trauma and Stressor Related Disorders การวินิจฉัยโรคประกอบดวย ผูปวยตองเผชิญกับเหตุการณ

               รุนแรงที่กระทบกระเทือน และอาจสูญเสียชีวิตดวยตนเอง โดยไมนับการประสบกับเหตุการณผานทางสื่อ เชน
               โทรทัศนหรือ ภาพถาย อาการแสดงหลักทางจิตใจ คือ ยังจำเหตุการณไดดีเสมือนเหตุการณยังคงเกิดขึ้น
               พยายามหลีกเลี่ยงสิ่งที่เกี่ยวของกับเหตุการณ อารมณและความคิดเปลี่ยนแปลงไปในทางลบ ตื่นตระหนกกลัว
               โดยปรากฏอาการอยูนานมากกวา 1เดือนหลังเหตุการณผานไป

                      3. ภาวะซึมเศราและการฆาตัวตาย อาการซึมเศรามักประกอบดวยอาการหลายอยาง ไดแก อารมณไม
               สดชื่น เบื่อหนายทอแท ขาดความสุข เบื่ออาหาร น้ำหนักลด นอนไมหลับหรือนอนหลับตอไดยาก สมาธิสั้น

               ความจำไมดี หมดแรง เบื่อหนาย ทอแท คิดวาตนเปนภาระใหผูอื่น รูสึกผิดที่ตนเองรอดชีวิตมาได บางคนอาจ
               คิดวาตนเองเปนเปนสาเหตุทำใหผูอื่นเสียชีวิต อาการซึมเศราอาจรุนแรงจนคิดฆาตัวตายได และเปนอาการของ
               โรคซึมเศรา (Major Depressive Disorder) สวนอาการที่ไมรุนแรงจะเรียกวา ภาวะการปรับตัวผิดปกติที่มี

               อารมณเศรา ( Adjustment Disorder with Depressed Mood)
                      4. อาการกลัวหรือโรคกลัว (Phobia) เชน กลัวทะเล กลัวคลื่น กลัวความมืด กลัวอยูคนเดียว กลัวบาน
               หรือสถานที่ที่เกิดเหตุ มักจะมีอาการหลบเลี่ยงหลีกเลี่ยงไมเผชิญสิ่งที่กลัว (Phobic avoidance)

                      5. การใชสุรา ยาเสพติด (Substance Use Disorders) มีการใชเหลาและยาเสพติดเพิ่มขึ้น เพื่อลด
               อาการทางจิตใจ อารมณ ใชบอยขึ้นจนเปนโรคติดเหลาหรือติดยาเสพติด


               บทบาทพยาบาลในการดูแลดานจิตใจตามระยะของภัยพิบัติ (Phases of Disaster)

               ระยะที่ 1 : ระยะเตรียมการ (กอนเกิดเหตุ)
                      เปนการเตรียมพรอมทั้งระดับบุคคล องคกร และชุมชน เตรียมความรูและการปฐมพยาบาลดานจิตใจ
               (Psychological First Aids) การเตรียมแบบประเมินตางๆ รวมทั้งการเตรียมความรูใหสุขภาพจิตศึกษาแก

               ผูประสบภัย
               ระยะที่ 2 : ระยะวิกฤต (72 ชั่วโมงแรกหลังเกิดเหตุ)

                      ระยะนี้ผูประสบภัยจะมีการตื่นตัวทางสรีระและพฤติกรรม มีพลังอยางมากเพื่อใหรอดชีวิต
               เกิดความเครียด หวาดผวา หวาดกลัว ช็อก วิตกกังวล สับสน ผูประสบภัยจะชวยเหลือซึ่งกันและกัน มีผูคน
               จำนวนมากเขามาใหการชวยเหลืออยางไมมีระบบ/ระเบียบ การชวยเหลือจะมุงใหความชวยเหลือเฉพาะหนา

               โดยเนนการชวยเหลือตามสภาพความเปนจริงทั้งดานรางกาย ความตองการพื้นฐาน เชน ที่อยูอาศัย อาหาร
               เครื่องนุงหม ของใชที่จำเปน สวนดานจิตใจนั้น ปฏิกิริยาที่แสดงออกถือวาเปนปฏิกิริยาปกติในสถานการณ ไม
               ปกติ (Normal Reaction at Abnormal Situation) เปนระยะที่สำคัญตองใหการปฐมพยาบาลทางดานจิตใจ





                                                                                                       25
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30