Page 28 - ผู้หญิงก้าวเดิน : มูลนิธิรักษ์ไทย
P. 28

เธอเล่าถึงสาเหตุที่ต้องเข้ามารับ
          “ไม่เคยคิดเรื่องการท�างานจิตอาสามาก่อน
          ตอนนั้นก็ท�างานดูแลลูก เป็นคนสันโดษ ไม่ได้  หน้าที่เหรัญญิกด้วยเหตุที่เพื่อน
          ยุ่งเกี่ยวกับใคร แต่พอรวมกลุ่มแล้วทางพี่ ๆ   เห็นว่าเธอมีความรับผิดชอบและ
          รักษ์ไทยบอกว่า ต้องมีกรรมการ            ความละเอียดรอบคอบพอที่จะทำา

          มาช่วยกัน แล้วเพื่อน ๆ ก็ถีบเข้ามา”     เรื่องบัญชี และเอกสารกู้ยืมต่าง ๆ
                                                  แก่สมาชิก ซึ่งเป็นงานสำาคัญงานหนึ่ง



        การดำาเนินงานกองทุนฟื้นฟูอาชีพบ้านไร่ใต้สามัคคี  มีอายุยืนยาวถึงปัจจุบันเกือบ  20  ปี
        และยังคงทำางานต่อเนื่อง แม้ว่าในชุมชนอื่นจะมีการยุติกองทุนไปบ้างแล้วก็ตาม
        เนื่องจากสมาชิกบางคนในกองทุนบางแห่งเห็นว่าในเมื่อเงินตั้งต้นกองทุนเป็นเงินบริจาค

        จะไม่ใช้คืนก็ได้  ความคิดแบบนี้เกิดขึ้นกับสมาชิกของบ้านไร่ใต้สามัคคีเช่นกัน  แต่ได้มี
        การประชุมปรึกษาหารือกันแล้วเห็นว่าควรจะดำาเนินงานกองทุนต่อไป  ส่วนสมาชิก
        รายใดที่เห็นว่าเงินบริจาคไม่ต้องใช้คืนนั้นก็จำาเป็นต้องตัดออก ยุติสถานภาพสมาชิก
        และแทงบัญชีเป็นหนี้เสีย



        จนถึงทุกวันนี้กล่าวได้ว่า กองทุนฟื้นฟูอาชีพบ้านไร่ใต้สามัคคีได้ทำางานร่วมกันมาอย่าง
        ร่วมแรงร่วมใจและเห็นเป้าหมายร่วมกันว่า  จะพยายามรักษากองทุนจากรุ่นสู่รุ่น
        กันต่อไป บางคนยังไม่มีเงินก็พยายามช่วยเหลือกันเดือนละร้อยสองร้อยบาทก็ยังดี



        หลังจากตัดหนี้เสียของสมาชิกส่วนหนึ่งออกไปแล้ว ปัจจุบันกองทุนฟื้นฟูอาชีพบ้านไร่ใต้
        สามัคคียังมีเงินเหลืออยู่ 4 แสนกว่าเกือบ 5 แสนบาท และยังมีคนรุ่นใหม่เข้ามาช่วยงาน
        เหรัญญิกกับข้อดี้ย๊ะอีก 3 คน โดยเธอเป็นคนแนะนำาสอนงานต่าง ๆ ให้กับทีมงาน

        ที่เข้ามาใหม่เหล่านั้น


        มีข้อสังเกตว่ากลุ่ม/กองทุนฟื้นฟูอาชีพที่เกิดขึ้นในช่วงหลังสึนามินั้น หากมีผู้หญิงเป็น
        ผู้บริหารกองทุนจะมีแนวโน้มที่กองทุนจะดำาเนินงานไปได้ดี เพราะมีทั้งความละเอียด

        และการประนีประนอมในการดำาเนินงาน


        26  ผู้หญิงก้าวเดิน
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33