Page 27 - ผู้หญิงก้าวเดิน : มูลนิธิรักษ์ไทย
P. 27
พลเมือง กล่าวคือ เกิดในเมืองไทยแต่ขาดไร้สถานะทางทะเบียนราษฎร เพราะไม่ได้
แจ้งเกิดและไม่ได้ทำาบัตรประชาชน มีการเดินทางข้ามไปมาระหว่างเมียนมากับไทย
จึงทำาให้คนในกลุ่มหมู่บ้านย่านนี้ขาดหลักฐานที่จะนำามาแสดงตัวตนถึง 20 ครัวเรือน
อย่างไรก็ตาม เมื่อเกิดสึนามิได้รับการช่วยเหลือให้อยู่ในกองทุนนี้เพราะมีความยืดหยุ่น
เรื่องการใช้หลักฐานประกอบ ปัจจุบันกว่า 80 - 90 เปอร์เซ็นต์ได้รับสถานะและ
บัตรประชาชนไทยเรียบร้อยแล้ว
แม้จะไม่ได้อยู่ในพื้นที่ทุรกันดาร แต่การขาดสถานะบุคคลในสายตารัฐได้กลายเป็น
ความเหลื่อมลำ้าอย่างหนึ่ง ทำาให้การเข้าถึงความช่วยเหลือเป็นไปอย่างล่าช้า แต่ในที่สุด
ชาวบ้านก็สามารถจัดตั้งกองทุนฟื้นฟูอาชีพบ้านไร่ใต้สามัคคีขึ้นได้ในเดือนมิถุนายน 2549
ข้อดี้ย๊ะ แก้วนพรัตน์ เหรัญญิกของกลุ่มเล่าว่า “เริ่มแรกพวกเรารวมตัวกัน 30 ครัวเรือน
ท�าเป็นกลุ่มออมทรัพย์ก่อน โดยรักษ์ไทยให้ทุนสนับสนุนตั้งต้นในเรื่องการช่วยเหลือ
ประกอบอาชีพ ทั้งการเกษตร และประมง เป็นจ�านวน 861,200 บาท ด�าเนินงาน
ในลักษณะกลุ่มเงินกู้ดอกเบี้ยต�่า น�ามาปล่อยกู้เป็นเงินกู้หมุนเวียน ตามระเบียบหลักการ
ที่ทางกลุ่มประชุมก�าหนดขึ้นมา โดยให้กู้รายละประมาณ 25,000 - 35,000 บาท ก�าหนด
ระยะเวลาช�าระหนี้ภายใน 2 ปี สมาชิกจะต้องมีค่าบ�ารุงสมทบกองทุน 5 เปอร์เซ็นต์”
ข้อดี้ย๊ะ รับหน้าที่เหรัญญิก
ตั้งแต่เริ่มตั้งกลุ่มและทำางาน สมาชิกส่วนใหญ่เป็นผู้หญิง
เพื่อชุมชนเรื่อยมาจนถึง มากกว่าผู้ชายเพราะว่าฝ่ายชาย
ทุกวันนี้ เธอบอกว่าไม่ได้คิด ต้องออกเรือ ท�างานประมง หรือออกไป
มาก่อนว่าจะมาทำางานเพื่อ รับจ้าง ท�าให้ไม่มีเวลามาประชุม
ส่วนรวม ดังนั้นงานของกลุ่มออมทรัพย์ หรือ
กองทุนฟื ้นฟูอาชีพในเวลาต่อมา
จึงกลายเป็นงานที่ผู้หญิงขับเคลื่อน
ในหน้าที่ส�าคัญเป็นหลัก
ผู้หญิงก้าวเดิน 25