Page 29 - ผู้หญิงก้าวเดิน : มูลนิธิรักษ์ไทย
P. 29
ความช่วยเหลือในรูปแบบกองทุนฟื้นฟูอาชีพที่ช่วยให้ผู้ประสบภัยสึนามิสามารถ
ประกอบอาชีพของตนเองต่อไปได้หลังภัยพิบัติผ่านพ้นไปแล้ว เมื่อเวลาผ่านไปชีวิต
เริ่มเข้ารูปเข้ารอยยังส่งผลให้เกิดการรวมกลุ่มอาชีพของผู้หญิงในหมู่บ้านขึ้นมาด้วย
นั่นคือ “กลุ่มสตรีไร่ใต้สามัคคี”
ผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูปของ
กลุ่มสตรีบ้านไร่ใต้จะประยุกต์ใช้
“กลุ่มสตรีไร่ใต้เป็นกลุ่มแปรรูปอาหาร
ทะเล เกิดจากกองทุนฟื ้นฟูอาชีพ วัตถุดิบหมุนเวียนตามฤดูกาล
ที่พวกเราเห็นว่ามีเงินประกอบอาชีพแล้ว เช่น ปลากระบอก ปลาหลังเขียว
จึงเอาเวลาว่างที่ไม่รู้จะท�าอะไร ปลาอินทรี โดยนำามาทำาเป็น
มาท�าการแปรรูปอาหารทะเล เพราะเรา ปลาแห้ง ปลาเค็มทั่วไป และ
มีวัตถุดิบจ�าพวกปลาอยู่เป็นจ�านวนมาก ปลาเค็มฝังทราย ซึ่งเป็นสูตร
และมักจะถูกกดราคา เลยเอามาแปรรูป ถนอมอาหารแบบโบราณที่คนอยู่
เพิ่มมูลค่ากันดีกว่า ตอนนี้ท�ามา 4-5 ปีแล้ว ตามชายหาดเคยทำากินกันมาก่อน
โดยเงินทุนส่วนแรกของกลุ่มสตรี ตั้งแต่สมัยที่ยังไม่มีตู้เย็น ส่วนใหญ่
ก็น�ามาจากกองทุนฟื ้นฟู
มีสมาชิกประมาณ 10 กว่าคน” จัดจำาหน่ายตามช่องทางออนไลน์
ข้อดี้ย๊ะเล่าให้ฟัง ผ่านเฟซบุ๊กส่วนตัว ลูกค้ามักจะ
เป็นคนรู้จักและไม่ได้บวกกำาไร
มากนัก
จากเดิมที่ข้อดี้ย๊ะเป็นเพียงแม่บ้านผู้สันโดษ การได้ทำางานเพื่อชุมชนมาเป็นเวลาเกือบ
ยี่สิบปีทำาให้เธอได้ปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตตนเอง มองเห็นชีวิตและมีความห่วงใยคนอื่น
มากขึ้นกว่าแต่ก่อน สนใจว่าเพื่อนบ้านจะมีความเป็นอยู่อย่างไร มีกินหรือไม่
พร้อมกันนี้เธอยังได้ขยับขยายตัวเองไปสู่งานอาสาสมัครด้านอื่นเพิ่มมากขึ้น เช่น
เข้าร่วมเป็นอาสาสมัครพัฒนาชุมชน ทำางานด้านส่งเสริมอาชีพคนในชุมชน อาสาสมัคร
ทรัพยากรสิ่งแวดล้อม ทำางานด้านอนุรักษ์ธรรมชาติทั้งทะเลและป่าไม้ ตลอดจนถึง
ผู้หญิงก้าวเดิน 27