Page 90 - ผู้หญิงก้าวเดิน : มูลนิธิรักษ์ไทย
P. 90

08           พัฒนำจำกปัญหำ



              ในพื้นที่






        จากจุดเริ่มต้นการทำางานในแม่แจ่มที่เข้าไปส่งเสริมคุณภาพชีวิตให้มี
        ความกินดีอยู่ดี ด้วยการสนับสนุนการเกษตร ลดการใช้สารเคมีในการปลูกพืช ในระยะ
        หลังวางนำ้าหนักไปยังเรื่อง  “การจัดการร่วม”  เพื่อให้ชุมชนมีอำานาจในการจัดการที่ดิน
        ของตนเอง แม้ไม่มีโฉนด แต่สามารถอ้างสิทธิตามประเพณีดั้งเดิมที่สืบทอดกันมาเนิ่นนาน


        โครงการระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์แบบมีส่วนร่วม (PGIS) เป็นตัวอย่างหนึ่งของ
        การต่อยอดการทำางาน  จากการเริ่มต้นทำาแผนที่ร่างมือ  ประชุมกับชาวบ้านว่าพื้นที่

        ในชุมชนส่วนใดเป็นป่าอนุรักษ์  ส่วนใดเป็นพื้นที่ทำากิน  เมื่อเทคโนโลยีพัฒนามากขึ้น
        จึงมีการทำาแผนที่โดยนำาระบบข้อมูลจีไอเอสมาประกอบการบันทึกข้อมูล  ซึ่งมี
        ความแม่นยำาในการระบุถึงการใช้ที่ดินของชุมชนและปักปันแนวเขตระหว่างส่วนที่เป็น
        ป่าไม้ ส่วนของพื้นที่ไร่ และครัวเรือนอยู่อาศัย ข้อมูลเหล่านี้นำาไปสู่ความมั่นคงด้านที่ดิน
        ของคนบนพื้นที่สูง เพื่อติดตามความเปลี่ยนแปลงของรูปแบบการใช้ที่ดิน และสนับสนุน
        การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ



        ผลที่ตามมาคือชาวบ้านสามารถนำาข้อมูลจากแผนที่ที่แม่นยำาและมีคุณภาพไปใช้ใน
        การต่อรองกับภาครัฐในการจัดการที่ดินในเขตป่าสงวน  ทั้งยังเกิดการทำางานร่วมกับ
        องค์การบริหารส่วนตำาบล (อบต.) ผู้นำาชุมชน ตลอดจนเอ็นจีโออื่นที่ระดมเข้าไปช่วยกัน
        ทำางานในประเด็นนี้


        ดิเรก  เครือจินลิ ผู้ประสานงานโครงการสิ่งแวดล้อมภาคเหนือ ผู้คุ้นเคยกับพื้นที่มากว่า
        25 ปี กล่าวว่า “การท�างานที่นี่เป็นตัวอย่างหนึ่งของการน�าเอาปัญหาของพื้นที่เป็นตัวตั้ง
        ในการพัฒนา (area based approach) เป็นการสร้างความเข้มแข็งของชุมชนโดยเน้น
        จากฐานราก เพราะฉะนั้นในบางช่วงเวลาอาจจะไม่มีโครงการ เนื่องจากด�าเนินงาน

        ครบสัญญาตามที่ก�าหนดไว้กับแหล่งทุนแล้ว  แต่บางกิจกรรมก็ยังท�าอยู่อย่างต่อเนื่อง
        โดยใช้การท�างานร่วมกับภาคีที่เกี่ยวข้อง”

        88  ผู้หญิงก้าวเดิน
   85   86   87   88   89   90   91   92