Page 86 - ผู้หญิงก้าวเดิน : มูลนิธิรักษ์ไทย
P. 86

แบบแรกคือ “ลุงหัวไวใจสู้”
          จากการเข้าไปส่งเสริมทั้งเรื่องเกษตรและ
          สุขอนามัย ซึ่งเกี่ยวโยงกับคุณภาพชีวิต    เป็นคนที่เปิดรับสิ่งที่นักพัฒนา
          ของชาวบ้านเองนั้น กาญจนาพบว่า            เข้าไปแนะนำา คนกลุ่มนี้จะเป็น
          ชาวบ้านแต่ละรายเปิดรับต่อการพัฒนา        ตัวอย่างให้คนอื่น  ถึงแม้มี
          แตกต่างกันไป ซึ่งพอจะจัด                 รายเดียวก็เป็นความสำาเร็จ
          ประเภทได้ 4 แบบ                          ของโครงการ  แบบที่สองเป็น

                                                   กลุ่มที่รอดูทีท่า  รอให้คนอื่น
                                                   ทำาก่อนแล้วค่อยตัดสินใจ
        แบบที่สามเป็นกลุ่มที่ลังเล ส่วนแบบที่สี่เป็นกลุ่มที่ไม่สนใจอะไรเลย



        ด้วยเวลาการปฏิบัติงานที่ค่อนข้างยาวนานในพื้นที่แม่แจ่ม  จึงส่งผลให้เนื้องานในแต่ละ
        ช่วงมีความเชื่อมโยงและส่งต่อถึงกัน  โดยเฟสแรก  เน้นไปที่การสนับสนุนอาชีพเกษตร
        ด้วยการส่งเสริมการปลูกพืชหลากหลายเพื่อทดแทนฝิ่น  ทำางานกับชาติพันธุ์กะเหรี่ยง
        ครอบคลุมพื้นที่เพียง 2-3 ตำาบล มีเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานเพียงสิบกว่าคน และส่วนใหญ่

        เป็นคนในพื้นที่


        ต่อมาในเฟสที่สอง ขยายพื้นที่การทำางานไปทั้งอำาเภอ ครอบคลุมไปยังทุกเรื่องใน
        วิถีชีวิตชาวบ้าน  และทุกชาติพันธุ์ที่อาศัยอยู่ในแม่แจ่ม  ไม่ว่าจะเป็นด้านสุขภาพ

        อนามัย ประปาภูเขา สาธารณสุข สร้างห้องนำ้า ส่วนเรื่องงานด้านเกษตรก็ยังดำาเนินไป
        พร้อม ๆ กับการเลี้ยงสัตว์ ทั้งหมู และไก่ ทำาบ่อปลา ทำานาขั้นบันได โดยรักษ์ไทย
        มีกองทุนสนับสนุนการทำางานแก่ชาวบ้านอีกด้วย



        เข้าสู่เฟสที่สาม เป็นการให้ความสำาคัญกับงานด้านอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้  ดิน
        และน�้า  มีเจ้าหน้าที่ที่มีความหลากหลายเพิ่มขึ้นถึง  30  กว่าคน  มีนักวิชาการป่าไม้
        รุ่นใหม่เข้ามาเสริมงานเดิมและเปิดงานใหม่  ที่ต้องอาศัยความรู้เฉพาะทาง  ภายใต้
        โครงการจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างมีส่วนร่วม  ซึ่งมีวัตถุประสงค์ในการเข้าไป





        84  ผู้หญิงก้าวเดิน
   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91