Page 109 - รายงานผลการดำเนินงานของรัฐบาล ปีที่ 4
P. 109
๘.๒ นโยบายเร่งด่วนที่ ๒ การปรับปรุงระบบสวัสดิการและพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน
๘.๒.๑ การจัดสวัสดิการทางสังคม ได้ด าเนินการ เช่น การให้ความช่วยเหลือประชาชนผู้มีรายได้น้อย
เป็นเงินผ่านบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ ประกอบด้วย (๑) สวัสดิการที่ให้เป็นวงเงินในบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ จ านวน
๑๘,๖๗๘.๙๓ ล้านบาท และ (๒) สวัสดิการที่ให้ผ่านกระเป๋าเงินอิเล็กทรอนิกส์ในบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ (e-Money)
จ านวน ๑,๕๗๓.๘๙ ล้านบาท รวมทั้งสิ้น ๒๐,๒๕๒.๘๒ ล้านบาท นอกจากนี้ ได้ดูแลและให้ความช่วยเหลือกลุ่มเปราะบาง
และผู้ประสบปัญหาทางสังคมให้เข้าถึงการลงทะเบียนบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ ปี ๒๕๖๕ จ านวน ๑๕๕,๔๔๓ ราย
และแนะน าช่วยเหลือและอ านวยความสะดวกในการยื่นสิทธิลงทะเบียน จ านวน ๓๐,๔๒๑ ราย โครงการขับเคลื่อน
การจัดสวัสดิการแม่เลี้ยงเดี่ยวและครอบครัว ภายใต้แนวคิด “Strong Mom: 4 Smarts ๔ รู้ ๔ สร้างครอบครัว
แม่เลี้ยงเดี่ยวเข้มแข็ง” ซึ่งมีแม่เลี้ยงเดี่ยวและครอบครัวเข้ารับบริการ จ านวน ๗๖๕ ราย สวัสดิการเบี้ยความพิการ
ส าหรับคนพิการทุกคนที่มีบัตรประจ าตัวคนพิการ จ านวน ๒,๐๒๓,๔๖๐ คน เป็นเงิน ๑,๘๕๔.๘๑๙๔ ล้านบาทต่อปี
(ข้อมูล ณ วันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕) และจัดท าข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดสวัสดิการสังคม เพื่อผลักดันให้งาน
สวัสดิการสังคมมุ่งสู่การจัดสวัสดิการถ้วนหน้าได้ท าการพัฒนาและจัดท าข้อเสนอเชิงนโยบายด้านสวัสดิการสังคม
ได้ด าเนินการขับเคลื่อนข้อเสนอเชิงนโยบาย ๒ เรื่อง ได้แก่ (๑) แผนพัฒนางานสวัสดิการสังคมไทย ระยะ ๕ ปี
(พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) และ (๒) การส่งเสริมการบริหารจัดการด้านสวัสดิการสังคม รวมทั้งได้จัดท าระบบ
เพื่อนครอบครัว (Family Line) เป็นแพลตฟอร์มรวมความรู้และให้ค าปรึกษาออนไลน์แบบครบวงจรส าหรับสมาชิก
ครอบครัว โดยมีผู้เข้าใช้งาน จ านวน ๖,๔๐๑ ครั้ง
๘.๒.๒ การเร่งรัดการพัฒนาระบบบริการสุขภาพเพื่อลดความเหลื่อมล้ าของคุณภาพการบริการ
ทั้งระบบ โดยด าเนินนโยบายเจ็บป่วยฉุกเฉินวิกฤต มีสิทธิทุกที่ (Universal Coverage for Emergency Patients: UCEP)
เพื่อให้บริการผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤตได้เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลทุกแห่งที่ใกล้ที่สุดได้ โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย
จนพ้นวิกฤตภายใน ๗๒ ชั่วโมง ทั้งนี้ มีผู้ป่วยฉุกเฉินที่เข้าระบบบันทึกและประเมินผู้ป่วย UCEP จ านวน ๙๗๖,๕๙๖ ราย
เป็นผู้ที่เข้าเกณฑ์ UCEP จ านวน ๑๒๒,๕๕๖ ราย คิดเป็นร้อยละ ๑๒.๕๕ และไม่เข้าเกณฑ์ UCEP จ านวน ๘๕๔,๐๔๐ ราย
คิดเป็นร้อยละ ๘๗.๔๕
๘.๒.๓ มาตรการเบี้ยยังชีพของผู้สูงอายุ คนพิการ ผู้ที่มีรายได้น้อยและขยายสิทธิกลุ่มมารดาตั้งครรภ์
เด็กแรกเกิด และเด็กวัยเรียน โดยด าเนินการ เช่น การให้ความช่วยเหลือกลุ่มเป้าหมายในรูปแบบเงินอุดหนุนหรือ
เงินสงเคราะห์ และการให้ค าแนะน าปรึกษาในเรื่องต่าง ๆ ได้แก่ การช่วยเหลือเฉพาะหน้าผ่านเงินสงเคราะห์แก่เด็ก
ในครอบครัวยากจน โดยในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ได้ให้ความช่วยเหลือ จ านวน ๑๔๐,๕๐๓ ราย เป็นเงิน
๑๗๔,๔๘๗,๐๐๐ บาท ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖ (เดือนตุลาคม - ธันวาคม ๒๕๖๕) ได้ให้ความช่วยเหลือ จ านวน ๓,๕๑๘ ราย
เป็นเงิน ๑๑,๐๘๑,๐๐๐ บาท และการให้การสนับสนุนเงินอุดหนุนช่วยเหลือค่าเลี้ยงดูเด็กในครอบครัวอุปถัมภ์
โดยให้การช่วยเหลือกลุ่มเป้าหมายรายละ ๒,๐๐๐ บาทต่อเดือน ซึ่งในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ได้ให้การช่วยเหลือ
จ านวน ๕,๔๑๓ ราย เป็นเงิน ๑๑๙,๓๑๒,๐๐๐ บาท ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖ (เดือนตุลาคม - ธันวาคม ๒๕๖๕)
ได้ให้การช่วยเหลือ จ านวน ๕,๒๙๗ ราย เป็นเงิน ๓๗,๐๕๐,๕๐๐ บาท การให้ความช่วยเหลือกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับ
ผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (โควิด-๑๙) ได้แก่ การคุ้มครอง
และช่วยเหลือเด็กก าพร้าจากสถานการณ์โควิด-๑๙ จ านวน ๔๖๓ คน ให้ได้รับการช่วยเหลือตามแผนการพัฒนา
เด็กรอบด้านตามช่วงวัย การสนับสนุนทุนการศึกษาแก่เด็กก าพร้าทั้งพ่อและแม่ตามระเบียบและกฎเกณฑ์ที่กองทุน
รายงานผลการด าเนินงานของรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ปีที่ ๔
รายงานผลการดำำาเนินงานของรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์์ จัันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ปีที� ๔
105
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕) ๑๐๕
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธ์ันวาคม ๒๕๖๕)