Page 27 - รายงานผลการดำเนินงานของรัฐบาล ปีที่ 4
P. 27
๒.๑) การเตรียมความพร้อม
(๑) การเฝ้าระวังและติดตามสถานการณ์อุทกภัย โดยให้จัดตั้งคณะท างานติดตามสถานการณ์
โดยมีหน่วยงานที่เกี่ยวข้องตามแผนเผชิญเหตุอุทกภัย ท าหน้าที่ติดตาม วิเคราะห์ ข้อมูลสภาพอากาศ สถานการณ์น้ า
และประเมินสถานการณ์ที่อาจส่งผลให้เกิดสาธารณภัยในช่วงฤดูฝน เสนอต่อผู้อ านวยการจังหวัดในการเตรียมการ
เผชิญเหตุได้อย่างเหมาะสมกับสถานการณ์และสภาพพื้นที่
(๒) การจัดท าแผนเผชิญเหตุอุทกภัย ได้ทบทวนและปรับปรุงแผนเผชิญเหตุอุทกภัยของจังหวัด
โดยให้ความส าคัญกับการจัดท ารายละเอียดในประเด็นส าคัญ เช่น ข้อมูลพื้นที่เสี่ยงอุทกภัย ดินถล่มในระดับหมู่บ้าน/
ชุมชน รายการเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องจักรกลสาธารณภัยของหน่วยงานต่าง ๆ พร้อมทั้งก าหนดให้มีการซักซ้อม
แนวทางการปฏิบัติตามแผนเผชิญเหตุอุทกภัยร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจถึงกลไกการปฏิบัติงาน
ร่วมกันเมื่อเกิดสถานการณ์อุทกภัย
(๓) การระบายน้ าและการเพิ่มพื้นที่รองรับน้ า โดยกองอ านวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
ในแต่ละระดับ วางแผนการติดตั้งเครื่องจักรกลสาธารณภัยในพื้นที่เสี่ยงอุทกภัยไว้เป็นการล่วงหน้าอย่างเป็นระบบ
โดยเฉพาะพื้นที่เสี่ยงในเขตชุมชน พื้นที่ส าคัญทางเศรษฐกิจ และเส้นทางคมนาคมที่มักเกิดอุทกภัยเป็นประจ า
(๔) การตรวจสอบความมั่นคงแข็งแรงสถานที่ใช้กักเก็บน้ า/กั้นน้ า เช่น อ่างเก็บน้ า พนังกั้นน้ า
โดยหน่วยงานที่รับผิดชอบท าการส ารวจ ตรวจสอบ และปรับปรุงให้เกิดความมั่นคง แข็งแรงตามหลักวิศวกรรม
(๕) การแจ้งเตือนภัย ตรวจสอบ จัดระบบแจ้งเตือนภัยในระดับหมู่บ้าน/ชุมชน เช่น
หอกระจายข่าว ระบบเสียงตามสาย ให้พร้อมใช้งาน และซักซ้อมแนวทางการแจ้งเตือนภัยให้เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบ
เมื่อมีแนวโน้มการเกิดสถานการณ์อุทกภัย วาตภัย และดินถล่ม ให้แจ้งเตือนไปยังกองอ านวยการป้องกันและบรรเทา
สาธารณภัยในแต่ระดับ เพื่อเตรียมการให้ความช่วยเหลือตามแผนเผชิญเหตุอุทกภัย
๒.๒) การเผชิญเหตุ
(๑) จัดตั้งศูนย์บัญชาการเหตุการณ์จังหวัด อ าเภอ และศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉินท้องถิ่น
เพื่อเป็นศูนย์ควบคุม สั่งการ และอ านวยการหลักในการระดมสรรพก าลังตลอดจนการประสานการปฏิบัติ
ระหว่างหน่วยงานต่างๆ ทั้งฝ่ายพลเรือน หน่วยทหาร องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และองค์กรสาธารณกุศล
(๒) พื้นที่ฝนตกหนัก เมื่อเกิดน้ าท่วมขังสร้างความเสียหายต่อทรัพย์สินของประชาชน
ให้มอบหมายฝ่ายปกครอง ก านัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้น าชุมชน อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน ตลอดจนเชิญชวน
ประชาชนจิตอาสา ร่วมเฝ้าระวัง และร่วมกันก าจัดสิ่งกีดขวางทางน้ า พร้อมทั้งบูรณาการหน่วยงานฝ่ายพลเรือน
หน่วยทหาร ภาคเอกชน ในการใช้เครื่องจักรกลสาธารณภัยเปิดทางน้ าหรือสูบน้ าระบายออกจากพื้นที่
(๓) จัดชุดปฏิบัติการให้ความช่วยเหลือประชาชนแต่ละด้านให้ครอบคลุม เช่น ด้านการด ารงชีพ
ให้จัดตั้งโรงครัวพระราชทาน ให้ความช่วยเหลือด้านอาหาร น้ าดื่ม การรักษาพยาบาลแก่ประชาชนที่ประสบภัย
ตามวงรอบอย่างต่อเนื่อง ด้านที่อยู่อาศัย ให้บูรณาการหน่วยงานทั้งฝ่ายพลเรือน หน่วยทหาร อาสาสมัคร ประชาชน
จิตอาสา และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อเร่งซ่อมแซมบ้านเรือนประชาชนโดยเร็ว และให้จัดตั้งศูนย์พักพิง
และวางแผนบริหารจัดการเพื่อรองรับการอพยพของประชาชนอย่างเป็นระบบในกรณีจังหวัดที่ยังคงมีสถานการณ์
อุทกภัย ด้านเส้นทางคมนาคมที่มีน้ าท่วมขัง หรือได้รับความเสียหายจากอุทกภัย ให้จัดท าป้ายแจ้งเตือน จัดเจ้าหน้าที่
รายงานผลการด าเนินงานของรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ปีที่ ๔
รายงานผลการดำำาเนินงานของรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์์ จัันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ปีที� ๔
23
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕) ๒๓
(๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธ์ันวาคม ๒๕๖๕)