Page 22 - รายงานผลการดำเนินงานของรัฐบาล ปีที่ 4
P. 22

(G-Wallet) บนแอปพลิเคชัน “เป๋าตัง” กับร้านค้าที่เข้าร่วมโครงการที่ติดตั้งแอปพลิเคชัน “ถุงเงิน” ด าเนินงานไปแล้ว
           ๕ ระยะ ได้แก่

                                ระยะที่ ๑ ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการไม่เกิน ๑๐ ล้านคน ผู้เข้าร่วมได้รับสิทธิภาครัฐ

           ร่วมจ่ายไม่เกิน ๑๕๐ บาทต่อคนต่อวัน หรือไม่เกิน ๓,๐๐๐ บาทต่อคน ระยะเวลาการใช้สิทธิตั้งแต่วันที่ ๒๓ ตุลาคม -
           ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๓

                                ระยะที่ ๒ ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการไม่เกิน ๑๕ ล้านคน โดยแบ่งเป็นผู้ได้รับสิทธิโครงการ
           คนละครึ่ง ระยะที่ ๑ จ านวน ๑๐ ล้านคน และผู้ได้รับสิทธิโครงการคนละครึ่ง ระยะที่ ๒ จ านวน ๕ ล้านคน ผู้เข้าร่วม

           ได้รับสิทธิภาครัฐ ร่วมจ่ายไม่เกิน ๑๕๐ บาทต่อคนต่อวัน หรือไม่เกิน ๓,๕๐๐ บาทต่อคน (กรณีผู้ได้รับสิทธิระยะที่ ๑

           ได้รับ ๕๐๐ บาท) ตั้งแต่วันที่ ๑ มกราคม - ๓๑ มีนาคม ๒๕๖๔
                                ระยะที่ ๓ ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการไม่เกิน ๒๘ ล้านคน ผู้เข้าร่วมได้รับสิทธิภาครัฐ

           ร่วมจ่ายไม่เกิน ๑๕๐ บาทต่อคนต่อวัน หรือไม่เกิน ๔,๕๐๐ บาทต่อคน (๓ รอบ รอบละ ๑,๕๐๐ บาท) ตั้งแต่วันที่ ๑
           กรกฎาคม - ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๔

                                ระยะที่ ๔ ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการจากระยะที่ ๓ และลงทะเบียนใหม่ ๑ ล้านคน

           รวมไม่เกิน ๒๙ ล้านคน ผู้เข้าร่วมได้รับสิทธิภาครัฐร่วมจ่ายไม่เกิน ๑๕๐ บาทต่อคนต่อวัน หรือไม่เกิน ๑,๒๐๐ บาทต่อคน
           ตั้งแต่วันที่ ๑ กุมภาพันธ์ - ๓๐ เมษายน ๒๕๖๕

                                ระยะที่ ๕ ประชาชนที่ใช้สิทธิโครงการจากระยะที่ ๔ และลงทะเบียนใหม่ รวมไม่เกิน

           ๒๖.๕ ล้านคน ผู้เข้าร่วมได้รับสิทธิภาครัฐร่วมจ่ายไม่เกิน ๑๕๐ บาทต่อคนต่อวัน หรือไม่เกิน ๘๐๐ บาทต่อคน ตั้งแต่
           วันที่ ๑ กันยายน - ๓๑ ตุลาคม ๒๕๖๕

                     ๖.๓.๒ มาตรการสินเชื่อดอกเบี้ยต่ าของสถาบันการเงินเฉพาะกิจส าหรับลูกค้ารายย่อย ประกอบด้วย

           มาตรการสินเชื่อสู้ภัยโควิด-๑๙ ส าหรับผู้มีรายได้ประจ า ผู้ประกอบอาชีพอิสระ และเกษตรกรรายย่อยหรือลูกจ้าง
           ภาคการเกษตร วงเงิน ๒๐,๐๐๐ ล้านบาท และมาตรการสินเชื่อสร้างงาน สร้างอาชีพ ส าหรับผู้ประกอบอาชีพอิสระ

           ผู้ประกอบการรายย่อย และผู้ขับขี่รถสาธารณะ วงเงิน ๕,๐๐๐ ล้านบาท โครงการสินเชื่อแก้หนี้เพิ่มทุน ส าหรับ
           ผู้มีรายได้ประจ า ผู้ประกอบอาชีพอิสระ และผู้ประกอบการรายย่อยที่เข้าร่วมงานมหกรรมร่วมใจแก้หนี้ วงเงิน

           ๒,๐๐๐ ล้านบาท

                     ๖.๓.๓ มาตรการภาษี เพื่อช่วยเหลือ เยียวยา และบรรเทาผลกระทบ ประกอบด้วย มาตรการ
           ลดค่าธรรมเนียมจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมส าหรับที่อยู่อาศัย โดยการลดค่าธรรมเนียมการโอนจากร้อยละ ๒

           ลงเหลือร้อยละ ๐.๐๑ และลดค่าธรรมเนียมการจ านองจากร้อยละ ๑ ลงเหลือร้อยละ ๐.๐๑ มีผลการโอนกรรมสิทธิ์
           ตามมาตรการฯ สะสมถึง ณ เดือนกันยายน ๒๕๖๕ จ านวน ๕๒,๑๑๐ หน่วยต่อครัวเรือน มาตรการปรับลดอัตราภาษี

           สรรพสามิตส าหรับน้ ามันเชื้อเพลิงเครื่องบินไอพ่นที่น าไปใช้เป็นเชื้อเพลิงส าหรับอากาศยานภายในประเทศ

           โดยลดอัตราภาษีตามปริมาณของน้ ามันเชื้อเพลิงส าหรับเครื่องบินไอพ่นที่ใช้บินในประเทศ จากลิตรละ ๔.๗๒๖ บาท
           เหลือลิตรละ ๐.๒๐ บาท โดยมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ ๑ มกราคม - ๓๐ มิถุนายน ๒๕๖๖ มาตรการยกเว้นค่าธรรมเนียม

           การอนุญาตขายสุรา ยาสูบ และไพ่ ส าหรับการต่ออายุใบอนุญาตของสถานประกอบการเดิมในปี ๒๕๖๕ - ๒๕๖๖







                                รายงานผลการดำำาเนินงานของรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์์ จัันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ปีที� ๔
             รายงานผลการด าเนินงานของรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์  จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ปีที่ ๔
           18 (๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕)                              (๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธ์ันวาคม ๒๕๖๕)
                                                                                                       ๑๘
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27