Page 109 - ทบทวนตัวชี้วัดเพื่อกำกับติดตามคุณภาพบริการด้านโรคไม่ติดต่อ พ.ศ. 2563 - 2566
P. 109

ตัวชี้วัดที่ 12 ร้อยละผู้ป่วยนอกที่มีค่า SBP ≥ 180 mmHg และ/หรือ DBP ≥ 110 mmHg ที่ได้รับ
              การลงรหัส R03.0 และได้รับการวินิจฉัยเป็นผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง (I10 – I15) จากการค้นหา

              ในโรงพยาบาล
               ตัวชี้วัด           ร้อยละผู้ป่วยนอกที่มีค่า SBP ≥ 180 mmHg และ/หรือ DBP ≥ 110 mmHg
                                   ที่ได้รับการลงรหัส R03.0 และได้รับการวินิจฉัยเป็นผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง
                                   (I10 – I15) จากการค้นหาในโรงพยาบาล

               ค�านิยาม            ร้อยละผู้ป่วยนอกที่มีค่า SBP ≥ 180 mmHg และ/หรือ DBP ≥ 110 mmHg
                                   ที่ได้รับการลงรหัส R03.0 และได้รับการวินิจฉัยเป็นผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง
                                   (I10 – I15) หมายถึง ผู้ที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไป ที่เข้ารับบริการในโรงพยาบาลและ
                                   มีความดันโลหิต SBP ≥ 180 mmHg และ/หรือ DBP ≥ 110 mmHg จากการค้นหา
                                   ในโรงพยาบาล และไม่เคยได้รับการวินิจฉัยเป็นผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง (I10 – I15)
                                   ในโรงพยาบาลนั้น ดังนี้
                                    - ได้รับการลงรหัส R03.0 และแพทย์ยืนยันวินิจฉัย HT (I10-I15) ในวันนั้น
                                    - ได้รับการลงรหัส R03.0 และแพทย์ยืนยันวินิจฉัย HT (I10-I15) ตั้งแต่ 1 - 7 วัน
                                    - ได้รับการลงรหัส R03.0 และแพทย์ยืนยันวินิจฉัย HT (I10-I15) มากกว่า 7 วัน
                                   การค้นหาเชิงรุกในโรงพยาบาล หมายถึง ผู้ที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไป เข้ารับบริการที่แผนก
                                   ผู้ป่วยนอก (OPD) ของโรงพยาบาลทุกคน ได้รับการวัดความดันโลหิต
               เกณฑ์เป้าหมาย       ≥ ร้อยละ 80
               ประชากรกลุ่มเป้าหมาย ผู้ที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไป ที่มารับบริการที่มีสัญชาติไทยที่ได้รับการวัดความดันโลหิตจาก
                                   การค้นหาในโรงพยาบาล มีความดันโลหิต SBP ≥ 180 mmHg และ/หรือ DBP ≥ 110
                                   mmHg ไม่เคยได้รับการวินิจฉัยโรคความดันโลหิตสูง (I10 - I15) ในโรงพยาบาลนั้น
                                   และได้รับการลงรหัส R03.0

               วิธีการจัดเก็บข้อมูล  บันทึกผ่านโปรแกรมพื้นฐานของหน่วยบริการ และส่งออกข้อมูลตามมาตรฐานข้อมูล
                                   43 แฟ้ม เข้าระบบ Health Data Center (HDC) On Cloud

               แหล่งข้อมูล         จากระบบรายงาน HDC กระทรวงสาธารณสุข

               รายการข้อมูล 1      A1 : ได้รับการลงรหัส R03.0 และแพทย์ยืนยันวินิจฉัย HT (I10 - I15) ในวันนั้น
               รายการข้อมูล 2      A2 : ได้รับการลงรหัส R03.0 และแพทย์ยืนยันวินิจฉัย HT (I10 - I15) ตั้งแต่ 1 - 7 วัน
               รายการข้อมูล 3      A3 : ได้รับการลงรหัส R03.0 และแพทย์ยืนยันวินิจฉัย HT (I10 - I15) มากกว่า 7 วัน

               รายการข้อมูล 4      A4 : ยังไม่ได้รับการยืนยันวินิจฉัย HT (I10 - I15)
               รายการข้อมูล 5      A5 : ได้รับการลงรหัส R03.0 และ I10 - I15 หรือ (A = A1+A2+A3)
                                   หมายเหตุ : ไม่ได้รับบริการในแผนกฉุกเฉิน (ไม่เอาแผนก ER รหัสขึ้นต้นด้วย 012)

               รายการข้อมูล 6      A : ได้รับการลงรหัส R03.0 และ I10 - I15 หรือ (A = A1+A2+A3)
               รายการข้อมูล 7      B1 : จ�านวนผู้ที่อายุ 15 ปีขึ้นไป ที่มีความดันโลหิต SBP ≥ 180 mmHg และ/หรือ
                                   DBP ≥ 110 mmHg จากการค้นหาในโรงพยาบาล และได้รับการลงรหัส R03.0
                                   หมายเหตุ : ไม่ได้รับบริการในแผนกฉุกเฉิน (ไม่เอาแผนก ER รหัสขึ้นต้นด้วย 012)





                                                ทบทวนตัวชี้วัดเพื่อกำ�กับติดตามคุณภาพบริการด้านโรคไม่ติดต่อ  97  NCD
                                                                             พ.ศ.�2563-2566
   104   105   106   107   108   109   110   111   112   113   114