Page 112 - ทบทวนตัวชี้วัดเพื่อกำกับติดตามคุณภาพบริการด้านโรคไม่ติดต่อ พ.ศ. 2563 - 2566
P. 112

ตัวชี้วัดที่ 1 ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อ
           โรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk)

           ตัวชี้วัด           ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมิน
                               โอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk)

           ค�านิยาม            ผู้ที่ได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) หมายถึง
                               ผู้ป่วยโรคเบาหวาน (E10-E14) ความดันโลหิตสูง (I10-I15) อายุ 35-60 ปีที่ขึ้นทะเบียน
                               ได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk)
                               ใน 10 ปีข้างหน้า
                               หมายเหตุ : รหัส ICD10 ที่จะน�ามาประเมิน CVD Risk ได้แก่
                               1. รหัสโรคเบาหวาน E10-E14 (นับทุกจุดที่ตามหลังรหัส) ยกเว้น รหัส E10-E14
                               ร่วมกับ I60-I69 ในทุกประเภทการวินิจฉัย (Dx type)
                               2. รหัสโรคความดันโลหิตสูง I10-I15 ยกเว้น รหัส I11.0-I11.9, I13.0, I13.1, I13.2,
                               I13.9 และรหัส I10-I15 ร่วมกับ I60-I69 ในทุกประเภทการวินิจฉัย (Dx type)
           เกณฑ์เป้าหมาย       มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 90

           วัตถุประสงค์        เพื่อประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยโรคเบาหวาน ความดัน
                               โลหิตสูง
           ประชากรกลุ่มเป้าหมาย จ�านวนผู้ป่วยโรคเบาหวาน (E10-E14) ความดันโลหิตสูง (I10-I15) อายุ 35-60 ปี
                               ที่ขึ้นทะเบียนและอยู่ในพื้นที่รับผิดชอบ
                               หมายเหตุ : 1. ผู้ป่วยโรคเบาหวาน (E10-E14) ความดันโลหิตสูง (I10-I15)
                               อายุ 35-60 ปี Type area 1 และ 3 หมายถึง
                               1.1 ผู้ป่วยโรคเบาหวาน (E10-E14) ความดันโลหิตสูง (I10-I15) อายุ 35-60 ปี
                                  Type area 1 หมายถึง ผู้ป่วยที่มีที่อยู่ตามทะเบียนบ้านในเขตรับผิดชอบและ
                                 อาศัยอยู่จริง
                               1.2 ผู้ป่วยโรคเบาหวาน (E10-E14) ความดันโลหิตสูง (I10-I15) อายุ 35-60 ปี
                                  Type area 3 หมายถึง ผู้ป่วยที่อาศัยอยู่ในเขตรับผิดชอบแต่ไม่มีทะเบียนบ้าน
                                 อยู่เขตรับผิดชอบ
           วิธีการจัดเก็บข้อมูล  1. รายงานผลการคัดกรองการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด
                               (CVD Risk) ในผู้ป่วยโรคเบาหวาน ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงจากฐานข้อมูล HDC
                               กระทรวงสาธารณสุข
                               2. รายงานผลการคัดกรองการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด
                               (CVD Risk) ในผู้ป่วยโรคเบาหวาน ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ในกลุ่มเสี่ยงสูงมาก
                               (≥ 30%) หลังเข้ารับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างเข้มข้นและรีบด่วน ภายใน 1 เดือน
           แหล่งข้อมูล         ฐานข้อมูล HDC กระทรวงสาธารณสุข/โปรแกรมของสถานบริการสาธารณสุข













   NCD       100  ทบทวนตัวชี้วัดเพื่อกำ�กับติดตามคุณภาพบริการด้านโรคไม่ติดต่อ
                  พ.ศ.�2563-2566
   107   108   109   110   111   112   113   114   115   116   117