Page 116 - ทบทวนตัวชี้วัดเพื่อกำกับติดตามคุณภาพบริการด้านโรคไม่ติดต่อ พ.ศ. 2563 - 2566
P. 116
ตัวชี้วัดที่ 3 ร้อยละของผู้ป่วย DM และ/หรือ HT ที่ได้รับการค้นหาและคัดกรองโรคไตเรื้อรัง
ตัวชี้วัด ร้อยละของผู้ป่วย DM และ/หรือ HT ที่ได้รับการค้นหาและคัดกรองโรคไตเรื้อรัง
ค�านิยาม ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง (CKD) หมายถึง ผู้ป่วยที่มีลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่งในสองข้อต่อไปนี้
1. ผู้ป่วยที่มีภาวะไตผิดปกตินานติดต่อกันเกิน 3 เดือน ทั้งนี้ผู้ป่วยอาจจะมีอัตรากรอง
ของไต (glomerular filtration rate, GFR) ผิดปกติหรือไม่ก็ได้
2
2. ผู้ป่วยที่มี GFR น้อยกว่า 60 mL/min/1.73 m ติดต่อกันเกิน 3 เดือน โดยที่อาจจะ
ตรวจพบหรือไม่พบว่ามีร่องรอยของไตผิดปกติก็ได้
เกณฑ์เป้าหมาย มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 80
สูตรในการค�านวณ ตัวตั้ง : จ�านวนผู้ป่วย DM และ/หรือ HT ที่ไม่เคยได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคไตเรื้อรัง
ในเขตรับผิดชอบ ที่ได้รับการตรวจคัดกรอง x 100
ตัวหาร : จ�านวนผู้ป่วย DM และ/หรือ HT ที่ไม่เคยได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคไตเรื้อรัง
วิธีการจัดเก็บข้อมูล รายงานผ่านระบบ 43 แฟ้มของส�านักนโยบายและยุทธศาสตร์
หมายเหตุ - ผู้ป่วยจะถือว่าได้รับการคัดกรองโรคไต ก็ต่อเมื่อ
1. ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงได้รับการตรวจ serum creatinine อย่างน้อย 1 ครั้งใน
ปีงบประมาณ
2. ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจทั้ง urine protein และ serum creatinine อย่างน้อย
1 ครั้งในปีงบประมาณเดียวกัน โดยไม่ระบุเวลาระหว่างการตรวจปัสสาวะและเลือด
- การตรวจ urine protein อาจตรวจด้วยวิธีใดวิธีหนึ่ง ดังนี้ คือ
(1) urine albumin-to-creatinine ratio (ACR)รหัส 0440206;
(2) urine protein-to-creatinine ratio (UPCR) รหัส 17 หรือ 0440205;
(3) microalbuminuriaรหัส 12 หรือ 0440204
(4) macroalbuminuria รหัส 14 หรือ 0440203
- ผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็น CKD จะหมายถึง CKD จากสาเหตุใดก็ตาม เช่น นิ่ว
โรคเบาหวานและความดันโลหิต เป็นต้น
NCD 104 ทบทวนตัวชี้วัดเพื่อกำ�กับติดตามคุณภาพบริการด้านโรคไม่ติดต่อ
พ.ศ.�2563-2566