Page 113 - ทบทวนตัวชี้วัดเพื่อกำกับติดตามคุณภาพบริการด้านโรคไม่ติดต่อ พ.ศ. 2563 - 2566
P. 113
รายการข้อมูล 1 A = จ�านวนผู้ป่วยโรคเบาหวาน (E10-E14) ความดันโลหิตสูง (I10-I15) อายุ 35-60 ปี
ที่ขึ้นทะเบียนและอยู่ในพื้นที่รับผิดชอบ ได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิด
โรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) ใน 10 ปีข้างหน้า
หมายเหตุ : รหัส ICD10 ที่จ�าน�ามาประใน CVD Risk ได้แก่
1. รหัสโรคเบาหวาน E10-E14 (นับทุกจุดที่ตามหลังรหัส) ยกเว้น รหัส E10-E14
ร่วมกับ I60-I69 ในทุกประเภทการวินิจฉัย (Dx type)
2.รหัสโรคความดันโลหิตสูง I10-I15 ยกเว้น รหัส I11.0-I11.9, I13.0, I13.1, I13.2,
I13.9 และรหัส I10-I15 ร่วมกับ I60-I69 ในทุกประเภทการวินิจฉัย (Dx type)
รายการข้อมูล 2 B = จ�านวนผู้ป่วยโรคเบาหวาน (E10-E14) ความดันโลหิตสูง (I10-I15) อายุ 35-60 ปี
ที่ขึ้นทะเบียนและอยู่ในพื้นที่รับผิดชอบ
หมายเหตุ : รหัส ICD10 ที่จะน�ามาประเมิน CVD Risk ได้แก่
1.รหัสโรคเบาหวาน E10-E14 (นับทุกจุดที่ตามหลังรหัส) ยกเว้น รหัส E10-E14
ร่วมกับ I60-I69 ในทุกประเภทการวินิจฉัย (Dx type)
2.รหัสโรคความดันโลหิตสูง I10-I15 ยกเว้น รหัส I11.0-I11.9, I13.0, I13.1, I13.2,
I13.9 และรหัส I10-I15 ร่วมกับ I60-I69 ในทุกประเภทการวินิจฉัย (Dx type)
สูตรค�านวณตัวชี้วัด (A/B) x 100
ระยะเวลาการประเมินผล 12 เดือน
วิธีการประเมินผล ฐานข้อมูล HDC กระทรวงสาธารณสุขเทียบกับค่าเป้าหมาย
เอกสารสนับสนุน 1. แนวทางการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วย
เบาหวานและความดันโลหิตสูง
2. โปรแกรมทางการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด
ในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง (Thai CV Risk Score)
3. คู่มือการจัดบริการสุขภาพ “กลุ่มวัยท�างาน” แบบบูรณาการ 2558
ทบทวนตัวชี้วัดเพื่อกำ�กับติดตามคุณภาพบริการด้านโรคไม่ติดต่อ 101 NCD
พ.ศ.�2563-2566