Page 226 - คำแปลอย่างไม่เป็นทางการ ความตกลงหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาค (อาร์เซ็ป)
P. 226
- คำ�แปลอย่�งไม่เป็นท�งก�ร -
(อี) ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคีในการพัฒนาและการก าหนดมาตรฐาน แนวทางปฏิบัติ (เอ) เหตุผลความจ าเป็นและวัตถุประสงค์ของการใช้มาตรการของตน และ
และค าแนะน าระหว่างประเทศ
(บี) ความเสี่ยงเฉพาะเจาะจงที่มาตรการของตนมุ่งที่จะแก้ไข
ข้อ 5.3: ขอบเขต
6. ภาคีผู้ส่งออกจะต้องให้ข้อมูลที่จ าเป็นเพื่อให้ภาคีผู้น าเข้าเริ่มท าการประเมินความเท่าเทียม
บทนี้จะต้องใช้บังคับกับมาตรการสุขอนามัยและสุขอนามัยพืชทั้งหมดของกลุ่มภาคี ที่อาจมี กันได้ และเมื่อเริ่มท าการประเมินความเท่าเทียมกันแล้ว หากมีการร้องขอ ภาคีผู้น าเข้า
ผลกระทบโดยทางตรงหรือโดยทางอ้อมต่อการค้าระหว่างภาคี ต้องอธิบายกระบวนการและแผนงานส าหรับการพิจารณาความเท่าเทียมกัน โดยปราศจาก
ความล่าช้าที่ไม่จ าเป็น
ข้อ 5.4: บทบัญญัติทั่วไป
7. ในการพิจารณาของภาคีฝ่ายหนึ่งจากค าร้องขอของภาคีอีกฝ่ายหนึ่ง เพื่อยอมรับความเท่าเทียมกัน
ภาคีแต่ละฝ่ายยืนยันสิทธิและพันธกรณีของตนที่มีต่อภาคีอื่นภายใต้ความตกลงเอส พี เอส ของมาตรการที่เกี่ยวกับสินค้าที่เฉพาะเจาะจงหรือกลุ่มสินค้า ต้องไม่น ามาใช้เป็นเหตุผล
ในการขัดขวางหรือระงับการน าเข้าสินค้าดังกล่าวที่มีการน าเข้าอยู่ก่อนแล้ว
ข้อ 5.5: ความเท่าเทียมกัน
8. เมื่อภาคีผู้น าเข้ายอมรับความเท่าเทียมกันของมาตรการสุขอนามัยหรือสุขอนามัยพืช
1. กลุ่มภาคีจะต้องเสริมสร้างความร่วมมือด้านความเท่าเทียมกันให้สอดคล้องกับความตกลง ที่เฉพาะเจาะจง กลุ่มมาตรการ หรือมาตรการเชิงระบบของภาคีผู้ส่งออก ภาคีผู้น าเข้า
เอส พี เอส ในขณะเดียวกัน ต้องค านึงถึงผลการตัดสินที่เกี่ยวข้องของคณะกรรมการว่าด้วย จะต้องแจ้งผลการตัดสินเป็นลายลักษณ์อักษรให้ภาคีผู้ส่งออกทราบ และต้องน ามาตรการ
มาตรการสุขอนามัยและสุขอนามัยพืชของดับบลิว ที โอ (ต่อไปในที่นี้จะเรียกว่า ดังกล่าวไปบังคับใช้ภายในระยะเวลาที่สมเหตุสมผล หากผลการตัดสินเป็นเชิงลบ ภาคีผู้น าเข้า
“คณะกรรมการดับบลิว ที โอ เอส พี เอส” ในบทนี้) และมาตรฐาน แนวทางปฏิบัติ และ ต้องชี้แจงเหตุผลให้ทราบเป็นลายลักษณ์อักษร
ค าแนะน าระหว่างประเทศ
9. ในกรณีที่เห็นชอบร่วมกัน ควรส่งเสริมให้ภาคีที่เกี่ยวข้องกับการพิจารณายอมรับความเท่าเทียมกัน
2. ภาคีผู้น าเข้าจะต้องยอมรับความเท่าเทียมกันของมาตรการสุขอนามัยหรือสุขอนามัยพืช แบ่งปันข้อมูลและประสบการณ์ให้กับคณะกรรมการด้านสินค้าทราบ
หากภาคีผู้ส่งออกแสดงให้ภาคีผู้น าเข้าเห็นว่ามาตรการของภาคีผู้ส่งออกมีระดับการปกป้อง
ที่เทียบเท่ากับมาตรการของภาคีผู้น าเข้า หรือมาตรการของภาคีผู้ส่งออกมีผลเพื่อบรรลุ ข้อ 5.6: การปรับให้เข้ากับสภาพของภูมิภาค รวมทั้งพื้นที่ปลอดศัตรูพืชหรือโรค และพื้นที่
วัตถุประสงค์ในระดับเดียวกันกับมาตรการของภาคีผู้น าเข้า ที่มีความชุกของศัตรูพืชหรือโรคต่ า
3. ในการพิจารณาความเท่าเทียมกันของมาตรการสุขอนามัยหรือสุขอนามัยพืช ภาคีผู้น าเข้า 1. กลุ่มภาคียอมรับแนวคิดเรื่องสภาพของภูมิภาค รวมทั้งพื้นที่ปลอดศัตรูพืชหรือโรค และพื้นที่
ต้องค านึงถึงความรู้ ข้อมูล และประสบการณ์ที่มีอยู่ ตลอดจนความสามารถในการก ากับ ที่มีความชุกของศัตรูพืชหรือโรคต่ า กลุ่มภาคีจะต้องค านึงถึงผลการตัดสินที่เกี่ยวข้อง
ดูแลของภาคีผู้ส่งออก ของคณะกรรมการดับบลิว ที โอ เอส พี เอส และมาตรฐาน แนวทางปฏิบัติ และค าแนะน า
ระหว่างประเทศ
4. ภาคีฝ่ายหนึ่งต้องเข้าสู่การปรึกษาหารือ หากมีการร้องขอ โดยมีความมุ่งหมายเพื่อให้บรรลุ
การจัดท าข้อตกลงการยอมรับสองฝ่ายเกี่ยวกับความเท่าเทียมกันของมาตรการสุขอนามัย 2. กลุ่มภาคีอาจให้ความร่วมมือในการยอมรับสภาพของภูมิภาค โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้เกิด
หรือสุขอนามัยพืชที่ระบุไว้ การยอมรับความเท่าเทียมกันภายใต้ข้อตกลงการยอมรับ ความมั่นใจในวิธีการที่ภาคีแต่ละฝ่ายปฏิบัติตามในการยอมรับดังกล่าว
สองฝ่ายดังกล่าว อาจเป็นมาตรการเดียว กลุ่มมาตรการ หรือมาตรการเชิงระบบ
และเพื่อวัตถุประสงค์นี้ หากมีการร้องขอ ภาคีผู้ส่งออกจะต้องยินยอมให้ภาคีผู้น าเข้า 3. ในกรณีที่ภาคีผู้ส่งออกร้องขอ ภาคีผู้น าเข้าจะต้องอธิบายกระบวนการและแผนงานส าหรับ
เข้าถึงวิธีการตรวจสอบ การทดสอบ และใช้วิธีการอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างสมเหตุสมผล พิจารณาการก าหนดสภาพของภูมิภาคของตน โดยปราศจากความล่าช้าที่ไม่จ าเป็น
5. ในส่วนของการปรึกษาหารือเพื่อการยอมรับความเท่าเทียมกัน หากภาคีผู้ส่งออกร้องขอ
ภาคีผู้น าเข้าจะต้องอธิบายและให้:
5-2 5-3