Page 22 - Digital Resilience ภูมิคุ้มกันในโลกดิจิทัล
P. 22
สํา ร บเด ก ายุ –
เด็ก ๆ ช วงวัยนี้เริ่มต นออกไปเผชิญโลกกว างทั้งในโลกออนไลน และโลกแห งความ
เป นจริง เพราะพวกเขาเริ่มมีการใช ocial e ia ในการติดต อสื่อสารกับคนอื่น ๆ
มากขึ้น ซึ่งมีความเสี่ยงต อการเกิด eer ressure และ cyberbullying เป น
อย างมาก ดังนั้นเราจึงมีแนวทางในการสร างภูมิคุ มกันทางจิตใจให กับพวกเขาดังนี้
การพูดคุยและเข าใจในตัวตนบนโลกออนไลน ของพวกเขา จากการอธิบายถึงความ
สําคัญ และขอบเขตที่ถูกต องในการใช งานสื่อต าง ๆ บนโลกออนไลน ที่มีผลทั้งในโลก
ออนไลน เอง และในโลกออ ไลน ด วย
การให ความรู ความเข าใจเกี่ยวกับ Digital oot rint หรือผลกระทบจากการใช สื่อใน
ทิศทางที่ผิด เพื่อเป นแนวทางในการใช สื่อออนไลน อย างมีสติให กับพวกเขา
3.การเป นตัวช วยในการหาจุดเด นของสื่อชนิดต าง ๆ ที่เหมาะสมกับการใช งานของพวกเขา
เช นการดูแลการใช สื่อรูปแบบต าง ๆ ให เหมาะสมกับวัย นั่นจะทําให พวกเขาสามรถใช ชีวิต
บนโลกออนไลน และโลกแห งความเป นจริงได อย างปลอดภัย
4.การรับ ง พูดคุย และสนับสนุนสิ่งที่พวกเขาชื่นชอบ จะทําให คุณสามารถเข าไปเป น
ส วนหนึ่ง ในโลกของพวกเขา และส งผลให เด็ก ๆ กล าที่จะพูดคุยหรือปรึกษาป ญหาที่
เกิดขึ้นบนโลกออนไลน กับผู ปกครองได
การให ความรู เกี่ยวกับ esilience นั่นหมายถึงการที่เราปลูก นภูมิคุ มกันทางใจให
กับพวกเขา ผ านประสบการณ การใช ชีวิต เช นการใช สื่ออย างมีสติ คิดทบทวนก อน
การโต ตอบทุกครั้ง เพื่อให เขาเป นสมาชิกที่ดีบนโลกออนไลน
ภูมิคุ�มกันในโลกดิจิทัล