Page 91 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 74 ฉบับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2564 : Thailand Engineering Journal
P. 91
จรรยาบรรณวิศวกร
หมวดที่ ๑ ว่าด้วย วิชาการ และวิชาชีพ
จรรยาบรรณวิศวกร พ.ศ. ๒๕๕๖ ข้อ ๓. วิศวกรอาชีพ พึงยึดหลักปฏิบัติในวิชาชีพดังต่อไปนี้:
(๑.) ปฏิบัติงานที่ได้รับทํา อย่างถูกต้องตามหลักวิชาการและหลักปฏิบัติของวิชาชีพโดยเคร่งครัด
สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (๒) เพิ่มพูนวิสัยทัศน์ รวมทั้งพัฒนาตนเองในด้านความรู้ ความสามารถ ในวิชาชีพวิศวกรรม
(๓) ส่งเสริม เผยแพร่ความรู้และประสบการณ์ในการประกอบวิชาชีพวิศวกรรมจากรุ่นพี่สู่รุ่นน้อง
วัตถุประสงค์ เพื่อให้สมาชิก วสท. และวิศวกรประพฤติ ปฏิบัติการประกอบวิชาชีพวิศวกรรมอย่างมี คุณภาพคุณธรรม มีจรรยาบรรณ (๔) ส่งเสริมเผยแพร่และพัฒนาความรู้ในวิชาชีพวิศวกรรมให้แก่หมู่วิศวกร ทั้งนิสิต นักศึกษา
คํานึงถึงความปลอดภัย และประโยชน์ของส่วนรวมเป็นหลัก จึงต้องออก จรรยาบรรณวิศวกร พ.ศ. ๒๕๕๖ ฉบับนี้ (๕) สนับสนุนส่งเสริมให้มีการศึกษาพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
(๖) ให้การยอมรับสนับสนุน และให้เกียรติยกย่อง ในวิชาชีพวิศวกรรม และวิศวกรด้วยกัน
โดยอํานาจ และหน้าที่ของคณะกรรมการสิทธิ และจรรยาบรรณ จึงได้ปรับปรุงจรรยาบรรณวิศวกรขึ้นใหม่ เพื่อให้สมาชิก วสท. เข้าใจ
ในจรรยาบรรณวิศวกรโดยง่าย และในทิศทางเดียวกัน (๗) พึงปฏิบัติงานเฉพาะที่ตนมีความรู้ ความสามารถ เท่านั้น
(๘) ให้ข้อมูล และแสดงความคิดเห็นตามหลักวิชาการตามที่ตนทราบอย่างถ่องแท้แก่สาธารณชนด้วยความสัตย์จริง
งานของวิศวกรมีผลต่อการพัฒนาอารยธรรม การอนุรักษ์ และการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ รวมทั้งการปรับปรุงมาตรฐานการครอง (๙) คํานึงถึงผลกระทบต่อผู้เกี่ยวข้อง สังคม และสิ่งแวดล้อม
ชีพของมนุษย์ การที่จะทําให้งานดังกล่าว มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลนั้น วิศวกรทั้งหลายจักต้องเพียรพยายามเพิ่มพูนความรู้ และ
ทักษะทางวิศวกรรมของตนและต้องดํารงตน และปฏิบัติงานให้สาธารณชนรับรู้ ยอมรับ และเชื่อถือศรัทธาในงานวิชาชีพวิศวกรรมด้วย หมวดที่ ๒ ว่าด้วย คุณธรรม และจริยธรรม
ความเต็มใจ โดยยึดหลักข้อปฏิบัติต่าง ๆ ดังต่อไปนี้:
- สร้างทักษะ และความเชี่ยวชาญ เพื่อพัฒนาผลงานให้เป็นประโยชน์ต่อมวลมนุษย์ และสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง ข้อ ๔. การประกอบวิชาชีพของวิศวกรมีผลกระทบต่อสังคม เพื่อให้เกิดการพัฒนาร่วมกันในสังคมให้ทุกคนอยู่อย่างมีความสุขได้ลดความ
- มีความซื่อสัตย์ ต่อสาธารณชน เจ้าของงาน ผู้เกี่ยวข้อง และเพื่อนร่วมวิชาชีพ มีอคติซึ่งกัน และกัน วิศวกรจึงต้องมีแนวปฏิบัติทางด้านคุณธรรม และจริยธรรมต่อไปนี้:
- มีคุณธรรม จริยธรรม และความรับผิดชอบในการประกอบวิชาชีพ (๑) มีความขยันหมั่นเพียร อดทน เที่ยงธรรม ไม่ลําเอียง ปราศจากอคติ และตรงต่อเวลา
- สร้างความเชื่อถือ ไว้วางใจ ทั้งในระดับประเทศ และระดับสากล (๒) ประกอบวิชาชีพด้วยความซื่อสัตย์สุจริต ไม่ใช้วิชาชีพในทางที่ผิด
ดังนั้น วิศวกรจึงต้องมีความประพฤติที่ดีที่เหมาะสม เพื่อสร้างศรัทธาต่อสาธารณชนโดยยึดหลักตาม จรรยาบรรณวิศวกรที่กําหนดไว้ : (๓) ไม่ใช้อํานาจหน้าที่โดยมิชอบธรรม หรือใช้อิทธิพลเพื่อประโยชน์ส่วนตนหรือพวกพ้อง
(๔) ไม่พัวพันเกี่ยวข้องกับธุรกิจหรือประกอบการใด ๆ ซึ่งเป็นที่ควรรู้ว่าเป็นการหลอกลวง หรือมิชอบด้วยกฎหมาย
ข้อ ๑. จรรยาบรรณนี้ เรียกว่า “จรรยาบรรณวิศวกร พ.ศ. ๒๕๕๖”
(๕) พึงให้ความเห็นงานทางด้านวิศวกรรมของผู้อื่นด้วยความสร้างสรรค์ และมีมารยาท เพื่อประโยชน์ของสังคม
ข้อ ๒. ให้ยกเลิก “จรรยาบรรณวิศวกร พ.ศ. ๒๕๔๒” และให้ใช้จรรยาบรรณวิศวกรฉบับนี้แทน (๖) พึงเสียสละให้การอุปถัมภ์คํ้าจุน เกื้อกูล และแลกเปลี่ยนความคิดประสบการณ์ ช่วยเหลือซึ่งกัน และกัน
(๑) จรรยาบรรณ หมายความว่า หลักความประพฤติอันเหมาะสม แสดงถึงคุณธรรม และจริยธรรม ในการประกอบวิชาชีพ (๗) มีความละอายในการกระทําสิ่งที่ไม่ถูกต้อง สํารวจ และปรับปรุงตนเองอยู่เสมอ
วิศวกรรม โดยยึดถือปฏิบัติเพื่อรักษาชื่อเสียง และส่งเสริมเกียรติคุณของวิชาชีพวิศวกรรม (๘) รักษาสัจจะโดยไม่ขัดกับกฎหมาย และศีลธรรม
(๒) วิศวกร หมายความว่า ผู้ประกอบงานด้านวิศวกรรม โดยการนําความรู้ทางวิศวกรรม มาประยุกต์ใช้ให้เกิดผลตามวัตถุประสงค์
ในงานของวิศวกรสาขาต่าง ๆ เช่น : โยธา ไฟฟ้า เครื่องกล อุตสาหการ เหมืองแร่ สิ่งแวดล้อม คอมพิวเตอร์ และอื่นๆ หมวดที่ ๓ ว่าด้วย ความรับผิดชอบ
(๓) งานวิศวกรรม หมายความถึง: ข้อ ๕. วิศวกรต้องรับผิดชอบ ในงานที่ได้รับมอบหมาย และให้ความสําคัญเป็นอันดับแรกทั้งต่อ สวัสดิภาพ ความปลอดภัย สุขอนามัย
(ก) งานให้คําปรึกษา ตรวจวินิจฉัย ตรวจรับรองงาน อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อมของผู้เกี่ยวข้องตลอดจนสาธารณชน
(ข) งานศึกษา วิเคราะห์ วางแผน และจัดการโครงการ (๑) ต้องรับผิดชอบลักษณะงานทางด้านวิศวกรรมทุกรูปแบบ
(ค) งานคํานวณออกแบบ (๒) ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรับผิดชอบ และคํานึงถึงผลกระทบ ต่อสังคม และสิ่งแวดล้อม
(ง) งานควบคุม สร้าง ผลิต ติดตั้ง ซ่อมแซม ดัดแปลง รื้อถอน เคลื่อนย้าย (๓) วิศวกรผู้ออกแบบ และวิศวกรผู้ควบคุมงาน จะต้องรับผิดชอบผลงานของตนเองที่ได้ดําเนินการไว้
(จ) งานพิจารณาตรวจสอบ ค้นคว้า วิเคราะห์ วิจัย ทดสอบ ตรวจสอบวินิจฉัย สอบทาน งานสอน และบรรยาย (๔) ไม่ละทิ้งงานหรือหน้าที่ที่ได้รับผิดชอบโดยไม่มีเหตุอันควร
(ฉ) งานอํานวยการใช้ บํารุงรักษา (๕) ไม่ลงลายมือชื่อเป็นผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมในงานวิศวกรรมที่ตนเองไม่ได้ตรวจสอบหรือปฏิบัติงานจริง
(ช) งานวิศวกรรมพิเศษอื่นๆ (๖) รักษาความลับต่องานที่ได้รับทํา เว้นแต่ได้รับอนุญาตจากเจ้าของงาน
52 53
วิศวกรรมสาร ปีที่ 72 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2562 วิศวกรรมสาร ปีที่ 72 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2562 91
วิิศวิกรรมสาร ปีีที่่� 74 ฉบัับัที่่� 1 มกราคม-ม่นาคม 2564