Page 71 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 74 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2564 : Thailand Engineering Journal
P. 71

คอำลัมน์                                                                                      จรรยาบรรณวิศวกร



                                                                                         ประสื่งค์ ธิ์าราไช้ย อดี่ตินายก วิสื่ที่.

                           ความปลอดภััยในการก่อสร้าง




                      ตั�งแต่ต้น่ป็ี พึ่.ศ. 2564 จน่ถึงตอน่น่ี� ได้้เกิด้อุบััติเหตุที�เกี�ยวิข้้องกับัการก่อสร้างใน่หน่่วิยงาน่ราชื่การ

               หลายต่อหลายครั�ง เชื่่น่                                                             ?                                                       จรรยาบรรณวิศวกร พ.ศ. ๒๕๕๖
                      •  สะพึ่าน่ถน่น่วิงแหวิน่ จังหวิัด้น่ครราชื่สีมา ถล่มลงมา เม่�อวิัน่ที� 23 มกราคม 2564

                      •  ชื่ิ�น่ส่วิน่ป็ระกอบัเครน่ก่อสร้างรถไฟฟ้าสายสีเหล่องหล่น่ทับัใส่รถจักรยาน่ยน่ต์                                               สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์

                          เ  ม่�อวิัน่ที� 13 เมษายน่ 2564                                                                               วัตถุประสงค์ เพื่อให้สมาชิก วสท. และวิศวกรประพฤติ ปฏิบัติการประกอบวิชาชีพวิศวกรรมอย่างมี คุณภาพคุณธรรม มีจรรยาบรรณ
                      จึงเป็็น่คำาถามข้องพึ่วิกเราชื่าวิวิิศวิกรวิ่าเร่�องที�เกิด้ข้ึ�น่น่ี�มีควิามเกี�ยวิข้้องกับัพึ่ระราชื่บััญ่ญ่ัติควิาม  คํานึงถึงความปลอดภัย และประโยชน์ของส่วนรวมเป็นหลัก จึงต้องออก จรรยาบรรณวิศวกร พ.ศ. ๒๕๕๖ ฉบับนี้

               ป็ลอด้ภัย อาชื่ีวิอน่ามัย และสภาพึ่แวิด้ล้อมใน่การทำางาน่ พึ่.ศ. 2554 มาตรา 3 หร่อไม่อย่างไร                             โดยอํานาจ และหน้าที่ของคณะกรรมการสิทธิ และจรรยาบรรณ จึงได้ปรับปรุงจรรยาบรรณวิศวกรขึ้นใหม่ เพื่อให้สมาชิก วสท. เข้าใจ
                                                                                                                                        ในจรรยาบรรณวิศวกรโดยง่าย และในทิศทางเดียวกัน
                     “มิาตรา 3 พระราชบัญญัตินี�มิิให้ใช้บังคัับแก่
                                                                                                                                        งานของวิศวกรมีผลต่อการพัฒนาอารยธรรม การอนุรักษ์ และการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ รวมทั้งการปรับปรุงมาตรฐานการครอง
                        •  ราชื่ส่วิน่กลาง ราชื่การส่วิน่ภ้มิภาค และราชื่การส่วิน่ท้องถิ�น่                                             ชีพของมนุษย์ การที่จะทําให้งานดังกล่าว มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลนั้น วิศวกรทั้งหลายจักต้องเพียรพยายามเพิ่มพูนความรู้ และ
                        •  กิจการอ่�น่ทั�งหมด้หร่อแต่บัางส่วิน่ตามที�กำาหน่ด้ใน่กฎกระทรวิง                                              ทักษะทางวิศวกรรมของตนและต้องดํารงตน และปฏิบัติงานให้สาธารณชนรับรู้ ยอมรับ และเชื่อถือศรัทธาในงานวิชาชีพวิศวกรรมด้วย
                                                                                                                                        ความเต็มใจ โดยยึดหลักข้อปฏิบัติต่าง ๆ ดังต่อไปนี้:
                          ให้ราชื่การส่วิน่กลาง ราชื่การส่วิน่ภ้มิภาค ราชื่การส่วิน่ท้องถิ�น่ และกิจการอ่�น่ตามที�กำาหน่ด้
                                                                                                                                            -  สร้างทักษะ และความเชี่ยวชาญ เพื่อพัฒนาผลงานให้เป็นประโยชน์ต่อมวลมนุษย์ และสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง
                     ใน่กฎกระทรวิงตามวิรรคหน่ึ�ง จัด้ให้มีมาตรฐาน่ใน่การบัริหารและการจัด้การด้้าน่ควิามป็ลอด้ภัย                            -  มีความซื่อสัตย์ ต่อสาธารณชน เจ้าของงาน ผู้เกี่ยวข้อง และเพื่อนร่วมวิชาชีพ

                     อาชื่ีวิอน่ามัยและสภาพึ่แวิด้ล้อมใน่การทำางาน่ใน่หน่่วิยงาน่ข้องตน่ไม่ตำ�ากวิ่ามาตรฐาน่ควิามป็ลอด้ภัย                  -  มีคุณธรรม จริยธรรม และความรับผิดชอบในการประกอบวิชาชีพ

                     อาชื่ีวิอน่ามัยและสภาพึ่แวิด้ล้อมใน่การทำางาน่ตามพึ่ระราชื่บััญ่ญ่ัติน่ี�”                                             -  สร้างความเชื่อถือ ไว้วางใจ ทั้งในระดับประเทศ และระดับสากล
                                                                                                                                        ดังนั้น วิศวกรจึงต้องมีความประพฤติที่ดีที่เหมาะสม เพื่อสร้างศรัทธาต่อสาธารณชนโดยยึดหลักตาม จรรยาบรรณวิศวกรที่กําหนดไว้ :

                                                                                                                                        ข้อ ๑. จรรยาบรรณนี้ เรียกว่า “จรรยาบรรณวิศวกร พ.ศ. ๒๕๕๖”
                                   สรึุปได้้ว่่า
                                                                                                                                        ข้อ ๒. ให้ยกเลิก “จรรยาบรรณวิศวกร พ.ศ. ๒๕๔๒” และให้ใช้จรรยาบรรณวิศวกรฉบับนี้แทน
                              การึปรึะกอบว่ิชาช่พนั้้�นั้
                                                                                                                                            (๑) จรรยาบรรณ หมายความว่า หลักความประพฤติอันเหมาะสม แสดงถึงคุณธรรม และจริยธรรม ในการประกอบวิชาชีพ
                  ม่กฎหมายคว่บคุมการึปรึะกอบว่ิชาช่พกำาก้บดู้แลอยู่                                                                         วิศวกรรม โดยยึดถือปฏิบัติเพื่อรักษาชื่อเสียง และส่งเสริมเกียรติคุณของวิชาชีพวิศวกรรม

                  ให้ปฏิิบ้ติิติามหล้กปฏิิบ้ติิ และหล้กว่ิชาการึ มิฉะนั้้�นั้                                                               (๒) วิศวกร หมายความว่า ผู้ประกอบงานด้านวิศวกรรม โดยการนําความรู้ทางวิศวกรรม มาประยุกต์ใช้ให้เกิดผลตามวัตถุประสงค์

                           อาจถููกกล่าว่หาหรึือกล่าว่โที่ษ                                                                              ในงานของวิศวกรสาขาต่าง ๆ เช่น : โยธา ไฟฟ้า เครื่องกล อุตสาหการ เหมืองแร่ สิ่งแวดล้อม คอมพิวเตอร์ และอื่นๆ

                       และนั้อกจากติ้องรึ้บผิิด้ที่างว่ิชาช่พแล้ว่                                                                          (๓) งานวิศวกรรม หมายความถึง:

                  อาจติ้องถููกด้ำาเนั้ินั้คด้่ที่างแพ่งรึว่มถูึงที่างอาญาด้้ว่ย                                                                (ก) งานให้คําปรึกษา ตรวจวินิจฉัย ตรวจรับรองงาน
                               ด้้งปรึากฎติามข่่าว่ในั้                                                                                        (ข) งานศึกษา วิเคราะห์ วางแผน และจัดการโครงการ
                                                                                                                                               (ค) งานคํานวณออกแบบ
                             เด้ือนั้พฤษภาคม 2564 นั้่�                                                                                        (ง) งานควบคุม สร้าง ผลิต ติดตั้ง ซ่อมแซม ดัดแปลง รื้อถอน เคลื่อนย้าย

                                                                                                                                               (จ) งานพิจารณาตรวจสอบ ค้นคว้า วิเคราะห์ วิจัย ทดสอบ ตรวจสอบวินิจฉัย สอบทาน งานสอน และบรรยาย
                                                                                                                                               (ฉ) งานอํานวยการใช้ บํารุงรักษา

                                                                                                                                               (ช) งานวิศวกรรมพิเศษอื่นๆ




                                                                                                                                       52
                                                                                                              71                             วิศวกรรมสาร ปีที่ 72 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2562
                                                                             วิิศวิกรรมสาร ปีีที่่� 74 ฉบัับัที่่� 2 เมษายน-มิถุุนายน 2564
   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76