Page 44 - วิศวกรรมสาร ปีที่ 76 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2566
P. 44

รศ.ดร.สมิตร  ส่งพิริยะกิจ



            ปลายปี 2565 ที่ผ่านมาหน่วยงานด้านสิ่งแวดล้อมของสหประชาชาติออกรายงาน (Buildings-GSR) ว่ากลุ่ม

          อุตสาหกรรมการใช้งานอาคารและการก่อสร้างปล่อย CO   สร้างนิวไฮมากถึง 10 กิกะตันในปีที่ผ่านมา โดยปล่อยเพิ่มขึ้น
                                                        2
          จากปี 2563 ถึงร้อยละ 5 และจากข้อมูลประกอบอื่นๆ เช่นการใช้พลังงานเพื่อปรับอากาศ ไฟฟ้าแสงสว่างก็เพิ่มขึ้นเช่นกัน
          เหล่านี้ท�าให้อนุมานได้ว่าเป้าหมายการลดการปล่อย CO  ภายในปี 2593 ห่างไกลออกไปอย่างสิ้นเชิง หลาย ๆ บทความ
                                                      2
                                                                                             o
          ในต่างประเทศ เตือนภัยขั้นรุนแรงให้ประชากรโลกเตรียมรับมือกับอุณหภูมิที่จะสูงขึ้นภายในปี 2593 ถึง 2.8  C จากเป้าหมาย
          1.5  C ที่ข้อตกลงปารีส (COP21) ได้ก�าหนดไว้
             o


          แนวโน้มการออกแบบโครงสร้างอาคาร


          เพื่อลดการปล่อย CO




                                                                                              2




            ส�าหรับในประเทศไทย เรามีกฎกระทรวงเกณฑ์การออกแบบ มอก.15-2555 จึงน�าไปสู่ความส�าเร็จแรกในการบรรลุเป้าหมาย

          อาคารเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน หรือ Building Energy Code :   ลดการปล่อย CO  ได้กว่า 3 แสนตัน ในปี 2564 ซึ่งเร็วกว่าเป้าหมาย
                                                                         2
          BEC เพื่อเป็นมาตรฐานบังคับใช้กับอาคารขนาดใหญ่ ที่มีการใช้ NDC Roadmap ถึง 9 ปี นอกจากนี้ TCMA ยังวางเป้าหมายใหม่
          พลังงานสูง ด้วยการก�าหนดมาตรฐานและหลักเกณฑ์และวิธีการ  ในการลดการปล่อย CO  ให้ได้อีก 1 ล้านตัน ในปี 2566 อีกด้วย
                                                                              2
          ออกแบบอาคาร เพื่อให้อาคารมีการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ  ความคืบหน้าดังกล่าวค่อนข้างชัดเจนที่จะท�านายได้ว่าอุตสาหกรรม

          ในปี พ.ศ. 2563 และบังคับใช้ไปแล้วตั้งแต่ มีนาคม 2564 กับ  ปูนซีเมนต์ของไทยจะสามารถลดการปล่อย CO  ได้ 30.3 ล้านตัน
                                                                                               2
          อาคารขนาด 10,000 ตารางเมตร (ตร.ม.) ต่อมาในปี 2565 ก็บังคับ  ภายในปี 2593
          ใช้กับอาคารสร้างใหม่ขนาด 5,000 ตร.ม.ขึ้นไป และต้นปีที่ผ่านมา    อย่างไรก็ตาม การที่ผู้ผลิตปูนซีเมนต์จะสามารถลดการปล่อย
          อาคารขนาดตั้งแต่ 2,000 ตร.ม. ก็ถูกบังคับใช้เรียบร้อยแล้วเช่นกัน CO  ได้ตามเป้าหมาย ก็ไม่ได้หมายความว่าภาระกิจการก้าวเข้าสู่
                                                               2
            กฎกระทรวงเกณฑ์การออกแบบอาคารเพื่อการอนุรักษ์ NET ZERO จะเสร็จสมบูรณ์ ถ้าเราดูจากภาพที่ 1 จะเห็นได้ว่า
          พลังงานนี้ ได้ก�าหนดให้อาคารที่จะก่อสร้างใหม่หรือดัดแปลง ภาคการผลิตปูนซีเมนต์และคอนกรีตสามารถลดการปล่อย CO
                                                                                                            2
          ครอบคลุมอาคารขนาดใหญ่ 9 ประเภท เช่น โรงแรม โรงหนัง   รวมกันได้ประมาณร้อยละ 30 เท่านั้น อีกร้อยละ 70 ที่เหลือยัง
          โรงพยาบาล โรงเรียน ฯลฯ ที่มีขนาดพื้นที่ตั้งแต่ 2,000 ตร.ม. ขึ้นไป   คงต้องอาศัยกลไกอื่นร่วมด้วย อาทิ การดักจับ การกักเก็บ การ
          ต้องออกแบบให้เป็นไปตามเกณฑ์ประสิทธิภาพพลังงานขั้นต�่า  เปลี่ยนรูป ฯลฯ ซึ่งอาจจะต้องรอเทคโนโลยีในอนาคต หรือมีราคา
          เช่นระบบเปลือกอาคาร ระบบไฟฟ้าแสงสว่าง ระบบปรับอากาศ  แพงเมื่อเทียบกับการจัดการ CO  ด้วยวิธีอื่น ๆ
                                                                                     2
          ระบบผลิตน�้าร้อน และการใช้พลังงานหมุนเวียน อย่างไรก็ตาม   สิ่งหนึ่งที่อุตสาหกรรมการก่อสร้างโดยเฉพาะอย่างยิ่งในงาน
          การตระหนักถึงการลดการปล่อย CO  และเป้าหมายการเข้าสู่  วิศวกรรมโยธายังค�านึงถึงไม่มากพอ คือการออกแบบที่ค�านึงถึง
                                      2
          NET ZERO ภายในปี 2593 ยังไม่เป็นที่รับทราบกันอย่างทั่วไปใน การลดการปล่อย CO  ตลอดช่วงอายุขององค์อาคารตั้งแต่เริ่มการ
                                                                            2
          วงการวิชาชีพวิศวกร                                 ก่อสร้างจนถึงวันที่ต้องรื้อถอน ทั้งในแง่การออกแบบโครงสร้างและ
             เรือธงใหญ่ส�าหรับการลดการปล่อย CO  ส�าหรับอุตสาหกรรม การบริหารการปล่อย CO  ระหว่างการก่อสร้าง ค�าแนะน�าหลัก ๆ
                                         2                                     2
          ก่อสร้างในบ้านเราคือสมาคมอุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ไทย  (TCMA)  ของการลดการปล่อย CO  ส�าหรับอุตสาหกรรมการก่อสร้างก็
                                                                                 2
          ซึ่งประกอบด้วยสมาชิกจากผู้ผลิตปูนซีเมนต์ทุก ๆ บริษัท ใน คือ ประการแรก ให้เลือกใช้วัสดุที่ปล่อย CO  น้อยจากการผลิต
                                                                                              2
          ประเทศไทย TCMA ได้ผลักดันการใช้งานปูนซีเมนต์ไฮดรอลิก ประการที่สอง คือเลือกวัสดุในท้องถิ่นที่มีการขนส่งสะดวก ประการ
          ตาม มอก. 2594-2556 เพื่อทดแทนปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ตาม  ที่สามคือการลดของเสียโดยการออกแบบที่ดี แม่นย�า และใช้ช่าง



        44    วิศวกรรมสาร
              ปีที่ 76 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2566
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49