Page 49 - รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืน ประจำปี 2563
P. 49
3 4
ยุทธศาสตร์ที่ 3 ยุทธศาสตร์ที่ 4
DIGITAL BANKING : FUNDAMENTAL CAPABILITIES :
การพัฒนาและยกระดับสู่ การเพิ่มศักยภาพโครงสร้างพื้นฐาน
การเป็น Digital Banking
การพัฒนานวัตกรรมทางการเงินที่ลำ้าสมัย ยกระดับบริการ การเพิ่มศักยภาพธนาคารให้มีระบบการบริหารจัดการ
สู่ Digital Bank เต็มรูปแบบ โดยพัฒนาเทคโนโลยีทางการเงิน ที่มีประสิทธิภาพแบบมืออาชีพและมีธรรมาภิบาลรองรับการ
(FinTech) หรือร่วมกับพันธมิตรพัฒนานวัตกรรมผลิตภัณฑ์ เติบโตและให้บริการในรูปแบบ Traditional Banking, Social
บริการ และช่องทางการให้บริการ โดยมีตัวอย่างการดำาเนินงาน Banking และ Digital Banking โดยมีตัวอย่างการดำาเนินงาน
สำาคัญ เช่น ที่สำาคัญ เช่น
• การพัฒนา Digital Platforms เพื่อมุ่งหารายได้ใหม่จาก • การสร้างความพร้อมทั้งในด้านโครงสร้างองค์กรอัตรากำาลัง
ผลิตภัณฑ์ใหม่ กระบวนการ การบริหารและพัฒนาผู้นำาและบุคลากรรองรับ
• การหา New Business Model ใหม่ ๆ เพื่อทดแทนช่องทาง การดำาเนินธุรกิจในยุคดิจิทัล (HR Transformation)
หารายได้จากTraditional Banking ผ่านการสร้าง GSB • การบริหารจัดการข้อมูลเพิ่มโอกาสทางธุรกิจและเป็นองค์กร
Digital Ecosystem ที่จะสามารถตอบโจทย์การให้บริการ ที่ขับเคลื่อนด้วยข้อมูล (Data Driven Organization)
ในอนาคตในแบบ Digital is Life ผ่านความร่วมมือ • การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศทั้งด้านโครงสร้างพื้นฐาน
ทั้งจากพันธมิตรด้านเทคโนโลยี และความมั่นคงปลอดภัยของระบบและข้อมูล (IT Security
• การร่วมทุนกับ Venture Capital หรือ Startup ที่มีศักยภาพ & Data Privacy)
• การพัฒนาบุคลากรด้าน IT ของธนาคารอันเป็นกำาลังสำาคัญ • การยกระดับมาตรฐานและบูรณาการการกำากับดูแล การบริหาร
ต่อขับเคลื่อนธนาคารไปสู่การเป็น Lifestyle Banking ความเสี่ยง การควบคุมภายใน และการตรวจสอบภายใน
ที่เอื้อต่อการดำาเนินธุรกิจและสอดคล้องกับเกณฑ์การกำากับ
ภายนอก
(สำาหรับรายละเอียดด้านแผนวิสาหกิจ ธนาคารออมสิน ประจำาปี 2563-2567 ท่านสามารถเข้า website
www.gsb.or.th ในหัวข้อ เกี่ยวกับธนาคาร > แผนปฏิบัติงานและรายงาน > นโยบาย ยุทธศาสตร์
และแผนปฏิบัติงานประจำาปี)
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำาปี 2563 45