Page 19 - บทบาทและความจำเป็น ผู้ดูแลผู้สูงอายุ (Care Giver) ในยุคสังคมสูงวัย
P. 19
บทบาทและความจ�าเป็นผู้ดูแลผู้สูงอายุ (Care Giver) ในยุคสังคมสูงวัย
และเหมาะสมกับการฝึกกับการปฏิบัติงาน มีความพร้อมและสามารถเข้ารับการฝึกได้
ตลอดหลักสูตร โดยได้รับวุฒิบัตรพัฒนาฝีมือแรงงานผู้ดูแลผู้สูงอายุ
การอบรมที่ร่วมกับหน่วยงานอื่นในการผลิตผู้ช่วยดูแลผู้สูงอายุ
เช่น กรมพัฒนาฝึมือแรงงานร่วมกับมูลนิธิพระดาบส เปิดหลักสูตรในการอบรม
ผู้ช่วยดูแลผู้สูงอายุ โดยใช้โครงสร้างหลักสูตรวุฒิบัตรพัฒนาฝึมือแรงงาน ผู้ดูแลผู้สูงอายุ
(420 ชั่วโมง) เน้นให้มีการ อบรมให้ผู้เข้าอบรมมีศีลธรรม กรมพัฒนาฝึมือแรงงานร่วมกับ
โรงเรียนปิยะมินทร์คุณารักษ์ ในการอบรมผู้ช่วยดูแลผู้สูงอายุโดยเพิ่มทักษะเกี่ยวกับการ
ใช้ภาษาอังกฤษ และการใช้คอมพิวเตอร์ในการอบรม เป็นต้น
กระทรวงกำรพัฒนำสังคมและควำมมั่นคงของมนุษย์
ระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ โดยส�านัก
ส่งเสริมและพิทักษ์ผู้สูงอายุ ได้ด�าเนินโครงการน�าร่องอาสาสมัคร
กดูแลผู้สูงอายุที่บ้าน (home care) ในพื้นที่น�าร่อง ระหว่าง พ.ศ.
2546 - 2547 โดยจัดท�าหลักสูตรอาสาสมัครผู้ดูแลผู้สูงอายุ เพื่อสามารถให้การดูแล
ผู้สูงอายุที่ขาดผู้ดูแล และช่วยเหลือตัวเองไม่ได้อย่างทั่วถึงตรงกับความต้องการและ
ความจ�าเป็นของผู้สูงอายุ โดยคุณสมบัติของอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุที่บ้าน อาสาสมัคร
ดูแลผู้สูงอายุที่บ้านเป็นประชาชนในพื้นที่เป้าหมายซึ่งมีความสมัครใจเข้าอบรม โดยมี
คุณสมบัติดังนี้ มีความสมัครใจ มีความตั้งใจท�าหน้าที่อย่างต่อเนื่อง มีเวลาเพื่อท�าหน้าที่
มีวัยและวุฒิภาวะที่เหมาะสม มีสุขภาพกายและจิตที่เหมาะสมและพออ่านออกเขียนได้
19