Page 29 - บทบาทและความจำเป็น ผู้ดูแลผู้สูงอายุ (Care Giver) ในยุคสังคมสูงวัย
P. 29

บทบาทและความจ�าเป็นผู้ดูแลผู้สูงอายุ (Care Giver) ในยุคสังคมสูงวัย



                 3. อุปกรณ์และเครื่องมือทางการแพทย์



                 ซึ่งการเลือกใช้อุปกรณ์ขึ้นอยู่กับนโยบายของสถานดูแลผู้สูงอายุ เช่น รับดูแล
          ผู้สูงอายุที่สามารถช่วยเหลือตัวเองเท่านั้นหรือรับดูแลผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะพึ่งพา อุปกรณ์
          และเครื่องมือที่เลือกใช้จึงมีความแตกต่างตามความจ�าเป็น



                 4. บุคลากร


                 บุคลากรภายในสถานดูแลผู้สูงอายุเป็นองค์ประกอบส�าคัญในการจัดตั้งและ
          ด�าเนินธุรกิจประเภทนี้ โดยบุคลากรหลัก ๆ ที่ส�าคัญประกอบด้วย



                 4.1 พยาบาล ในกรณีที่เป็นสถานพยาบาล จ�าเป็นต้องมีพยาบาลวิชาชีพอยู่ประจ�า
                 4.2 ผู้ช่วยดูแลผู้สูงอายุ เป็นผู้ดูแลที่มีจ�านวนมากที่สุดในสถานดูแลผู้สูงอายุ
                    เป็นบุคลากรที่ส�าคัญให้การดูแลผู้สูงอายุอย่างใกล้ชิด ช่วยเหลือดูแลผู้สูง

                    อายุในการปฏิบัติกิจวัตรประจ�าวัน ส่วนใหญ่ผ่านการอบรมการดูแลผู้สูง
                    อายุโดยหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ
                 4.3 นักกายภาพบ�าบัด เป็นผู้ที่ให้การช่วยเหลือและดูแลในเรื่องกิจกรรมการ
                    ฟื้นฟูสภาพเป็นหลัก โดยจะร่วมประชุมปรึกษากับบุคลากรในทีมดูแลเพื่อ

                    จัดกิจกรรมที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุแต่ละราย ซึ่งในสถานดูแลผู้สูงอายุ
                    บางแห่งอาจมีห้องกายภาพบ�าบัดและอุปกรณ์ช่วยเหลือในการท�ากิจกรรม
                    อย่างครบครัน
                 4.4 นักอาชีวบ�าบัด เป็นผู้ที่ให้การช่วยเหลือในเรื่องการฝึกใช้กล้ามเนื้อมัดเล็ก

                 4.5 นักโภชนาการ ดูแลเกี่ยวกับการจัดอาหารที่เหมาะกับผู้สูงอายุเฉพาะราย
                 4.6 พนักงานธุรการ ดูแลงานธุรการ การให้ข้อมูลเกี่ยวกับสถานดูแลผู้สูงอายุ
                 4.7 แม่บ้านท�าความสะอาด เป็นผู้ดูแลความสะอาดเรียบร้อยและซักรีด
                 4.8 แม่ครัว ประกอบอาหารและเครื่องดื่ม





                                                                           29
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34