Page 32 - บทบาทและความจำเป็น ผู้ดูแลผู้สูงอายุ (Care Giver) ในยุคสังคมสูงวัย
P. 32
ตัวอย่ำง โปรแกรมกำรดูแลผู้สูงอำยุระยะยำวของต่ำงประเทศ
งามเนตร เอี่ยมนาคะ (2561) ได้สังเคราะห์แนวคิดจากการทบทวนวรรณกรรม
ต่างประเทศ พบว่าแบบอย่างการปฏิบัติที่ดีของการจัดโปรแกรมการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
เชิงบูรณาการ ที่อาจน�ามาปรับใช้เป็นแนวทางการพัฒนาของประเทศไทยได้ ดังตาราง
ข้างล่างนี้
โปรแกรมการดูแล ลักษณะส�าคัญ ผลลัพธ์ด้านสุขภาพ
ระยะยาว
SIEP: System of • ดูแลผู้สูงอายุ 64 ปีขึ้นไป • ลดอัตราเข้ารับรักษาแบบ
Integrated Care for ด้วยทีมสหวิชาชีพ 24 ชั่วโมง ฉุกเฉินในโรงพยาบาล
Elder Persons on call • ความพึงพอใจและทัศนคติ
• จัดบริการแบบ community ที่ดีต่อการดูแลระยะยาว
health and social ของ Care Giver
services • ความสุขของผู้สูงอายุ
• จัดระบบบริการเชื่อมโยง
และส่งต่อระหว่าง
โรงพยาบาลกับ nursing
home care
• ผู้สูงอายุได้รับการส่งเสริม
ให้วางแผนการดูแลสุขภาพ
ตนเองตามสถานการณ์จริง
• ผู้จัดการผู้สูงอายุ (Case
Manger) หรือ Care Giver
ดูแลแบบใกล้บ้าน ใกล้ใจ
PRISMA: Program of • ดูแลผู้สูงอายุ 75 ปีขึ้นไป • การลดลงของบริการ
Research to Integrate ที่มีภาวะทุพพลภาพด้วย สุขภาพที่ผู้สูงอายุที่มี
Services for the ทีมสหวิชาชีพ 24 ชั่วโมง ภาวะทุพพลภาพเข้าไม่ถึง
Maintenance of on call (unmet need)
Autonomy • ต้องการผู้ดูแลระดับวิชาชีพ • การลดลงของการใช้
ได้แก่ พยาบาลวิชาชีพ บริการผู้ป่วยนอกที่เป็น
นักสังคมสงเคราะห์ ผู้สูงอายุ
32