Page 36 - บทบาทและความจำเป็น ผู้ดูแลผู้สูงอายุ (Care Giver) ในยุคสังคมสูงวัย
P. 36
ข้อเสนอเกี่ยวกับผู้ดูแลผู้สูงอำยุ
จำกงำนวิจัยและกำรทบทวนเอกสำร
ต่อข้อเสนอของผู้ท�าการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับ “ผู้ดูแลผู้สูงอายุ” ต่อข้อประเด็น
และแนวทางในการพัฒนาที่น่าสนใจ 4 กรณี ดังต่อไปนี้
กีรติ กิจธีระวุฒิวงษ์ และนิทรำกีรติ กิจธีระวุฒิวงษ์ (2561)
เสนอทิศทางในการพัฒนาผู้ดูแลผู้สูงอายุระยะยาวในชุมชน ดังนี้
1. วิเคราะห์ความจ�าเป็นทางสุขภาพที่ต้องการการดูแล (Health needs) ของ
ผู้สูงอายุในพื้นที่ ทั้งบริการด้านสังคม และบริการทางสาธารณสุข น�าไปสู่การวางแผน
ก�าลังคนผู้ดูแลผู้สูงอายุแต่ละประเภทให้เหมาะสมกับความจ�าเป็นทางสุขภาพ
2. จากข้อ 1 เมื่อทราบความจ�าเป็นทางด้านสุขภาพของพื้นที่ น�าข้อมูลมา
วางแผน จ�านวนผู้ดูแลอบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุ ให้เพียงพอกับความจ�าเป็นทางสุขภาพของ
ผู้สูงอายุในชุมชน
3. ก�าหนดคุณสมบัติของผู้ดูแลผู้สูงอายุให้เหมาะสมในการท�างานดูแลผู้สูงอายุ
4. รวบรวมข้อมูลบริการที่จ�าเป็นของผู้สูงอายุในชุมชน หัวข้อในการอบรม
จะต้องมีการจัดตามความจ�าเป็นของบริการคู่ขนานกับหลักสูตรของหน่วยงานพื้นที่ใช้
5. ภายหลังการอบรมการดูแลผู้สูงอายุควรมีการพัฒนาความรู้อย่างต่อเนื่อง
เพื่อฟื้นฟูความรู้และทักษะ เช่น การจัดอภิปรายกรณีศึกษาในชุมชน การสอนวิธีการ
ดูแลใหม่ที่เกิดขึ้นในพื้นที่ เช่น บางพื้นที่มีการใช้เครื่องควบคุมการฉีดยาขนาดเล็ก
(Syringe driver) เป็นต้น
36