Page 40 - บทบาทและความจำเป็น ผู้ดูแลผู้สูงอายุ (Care Giver) ในยุคสังคมสูงวัย
P. 40

7. ควรมีการสร้างความตระหนักให้ประชาชนหรืออาสาสมัครในพื้นที่เห็นความ
          ส�าคัญของการดูแลช่วยเหลือผู้สูงอายุในชีวิตประจ�าวันซึ่งเป็นปูชนียบุคคลในชุมชน และ

          ควรน�าเยาวชนในท้องถิ่นไปร่วมกิจกรรมด้วยเพื่อปลูกฝังคุณลักษณะจิตอาสาหรือ
          จิตสาธารณะ


                 8. ควรมีการจัดตั้งชมรมผู้ดูแลผู้สูงอายุในพื้นที่และสนับสนุนกิจกรรมการดูแล
          สุขภาพผู้สูงอายุในชุมชน


          กรกนก ลัธธนันท์ จันทร์เพ็ญ นิลวัชรมณี และนิภำพร อภิสิทธิวำสนำ

                 ได้ศึกษาทบทวนวรรณกรรมเรื่องผู้ดูแลผู้สูงอายุ (Caregiver) ได้ให้ข้อเสนอ

          ในการด�าเนินการเกี่ยวกับผู้ดูแล ดังนี้

                 1. ควรมีการจัดท�าบทบัญญัติ/แนวทางเกี่ยวกับการปฏิบัติกิจกรรมการดูแล

          ส�าหรับผู้ดูแลผู้สูงอายุให้มีความชัดเจนและสอดคล้องกับความต้องการของสังคม โดยมี
          หน่วยงานของรัฐท�าหน้าที่รับผิดชอบโดยตรงเรื่องมาตรฐานและคุณภาพของผู้ดูแลผู้สูง
          อายุ โดยเป็นกลไกในการขับเคลื่อนการพัฒนามาตรฐานคุณภาพและคุ้มครองผู้บริโภค


                 2. การจัดท�าหลักสูตรและการจัดฝึกอบรม ควรมี
                 • การก�าหนดมาตรฐานของหลักสูตรที่เหมาะสมและสอดคล้องกับความต้องการ
                  ของสังคมปัจจุบัน

                 • การจัดท�าหลักสูตรที่มีมาตรฐานเรื่องการวัดและประเมินผลมีหน่วยงานที่
                  รับผิดชอบอนุมัติหลักสูตรและการฝึกอบรม
                 • การก�าหนดเกณฑ์คุณสมบัติสถาบัน/หน่วยงาน/องค์กรที่จัดอบรม
                 • ควรมีระบบการรับรองหลักสูตร ติดตาม ตรวจสอบและควบคุมคุณภาพ

                  การฝึกอบรม (Quality assurance)
                 • มีบทลงโทษในผู้ที่ไม่ปฏิบัติตามระเบียบที่ชัดเจน
                 • มีการประเมินคุณภาพผู้ส�าเร็จ




          40
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45