Page 41 - บทบาทและความจำเป็น ผู้ดูแลผู้สูงอายุ (Care Giver) ในยุคสังคมสูงวัย
P. 41

บทบาทและความจ�าเป็นผู้ดูแลผู้สูงอายุ (Care Giver) ในยุคสังคมสูงวัย



                 การอบรมการประกอบอาชีพผู้ดูแล ควรมีการก�าหนดองค์กรหลักที่เหมาะสม
          ในการเป็นผู้ตรวจสอบ รับรองและควบคุม คุณภาพ ควรมีข้อบังคับการทดสอบมาตรฐาน

          ของผู้ดูแลที่ผ่านการอบรมทุกคนและมีระบบการเรียนรู้แบบต่อเนื่อง และมีบทลงโทษ
          ในผู้ที่ไม่ปฏิบัติตามระเบียบที่ชัดเจน


                 อาสาสมัครผู้ดูแลผู้สูงอายุควรมี

                 • การบูรณาการภาคีเครือข่ายการท�างานต่าง ๆ ในชุมชน การขับเคลื่อนและ

                  แสวงหาความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายการท�างานต่าง ๆ องค์กรปกครอง
                  ส่วนท้องถิ่น โรงพยาบาลโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�าบล วัด โรงเรียน
                  และอื่น ๆ เพื่อสนับสนุนการท�างาน และพัฒนารูปแบบการดูแลผู้สูงอายุ
                  แบบองค์รวมต่อไป

                 • ส่งเสริมและสนับสนุนด้านการพัฒนาและเสริมศักยภาพแก่กลุ่มผู้ดูแลผู้สูง
                  อายุในชุมชน โดยจัดอบรมให้ความรู้เรื่องต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการดูแลผู้สูง
                  อายุ อาทิ การดูแลด้านร่างกายและจิตใจ การจัดสภาพแวดล้อม และการมี
                  ส่วนร่วมทางสังคมของครอบครัว/ชุมชน

                 • ข้อเสนอแนะที่มีต่อการพัฒนาบทบาทของสถานบริการทางสุขภาพในการ
                  ดูแลผู้สูงอายุในชุมชน คือ เน้นพัฒนาบริการเชิงรุกในชุมชน มีทีมบริการดูแล
                  ทั้งแพทย์ พยาบาล เจ้าหน้าที่ รพ.สต. นักสังคมสงเคราะห์ และอาสาสมัคร
                  ลงพื้นที่เยี่ยมเยียนที่บ้านหรือให้บริการในจุดศูนย์กลางของชุมชน โดยให้

                  บริการอย่างทั่วถึงและสม�่าเสมอ

















                                                                           41
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46