Page 45 - บทบาทและความจำเป็น ผู้ดูแลผู้สูงอายุ (Care Giver) ในยุคสังคมสูงวัย
P. 45
บทบาทและความจ�าเป็นผู้ดูแลผู้สูงอายุ (Care Giver) ในยุคสังคมสูงวัย
ก้าวหน้า เป็นการสร้างแรงบันดาลใจแก่ผู้ดูแลผู้สูงอายุ ซึ่งจะท�าให้เกิด
ความมุ่งมั่นตั้งใจในการดูแลผู้สูงอายุได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3.4 ก�าหนดสัดส่วนในการดูแลผู้สูงอายุที่เหมาะสม ซึ่งต้องพิจารณาตามบริบท
ที่เกี่ยวข้อง เช่น ภาวะการพึ่งพิงของผู้สูงอายุ จ�านวนผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีใน
พื้นที่
3.5 ส่งเสริมโดยการให้ทุนการศึกษาแก่คนในชุมชนในการเข้ารับการฝึกอบรม
ผู้ดูแลผู้สูงอายุ เพื่อกลับมาท�างานในชุมชนต่อไป
4. เสริมสร้างศักยภาพและความตระหนักในการดูแลผู้สูงอายุแก่ครอบครัว
ชุมชน และองค์กรบริหารส่วนต�าบล โดย
4.1 พัฒนาความรู้ ทักษะในการดูแลผู้สูงอายุแก่บุคลากรขององค์กรบริหาร
ส่วนต�าบล อาสาสมัครสาธารณสุข และครอบครัวอย่างต่อเนื่อง รวมถึง
การศึกษาดูงานพื้นที่หรือชุมชนต้นแบบ โดยจัดให้อยู่ในแผนปฏิบัติการ
ประจ�าปีของหน่วยงานที่รับผิดชอบ จัดสรรงบประมาณและมีการควบคุม
ก�ากับเพื่อมุ่งสัมฤทธิผลในการด�าเนินงาน
4.2 สร้างความตระหนักแก่ครอบครัว องค์กรชุมชน เครือข่ายอาสาสมัคร
สาธารณสุข ชมรมผู้สูงอายุ ในการร่วมกันดูแลผู้สูงอายุในชุมชนอย่างเต็ม
ศักยภาพและดูแลด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์ ที่จะเป็นการสร้างความเข้มแข็ง
ความมีน�้าใจ ความเอื้ออาทรที่เกิดขึ้นในชุมชน
5. พัฒนาฐานข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุในทุกมิติทั้งด้านครอบครัว เศรษฐกิจ
สุขภาพ สังคม และสภาพที่อยู่อาศัย โดย “การบันทึกข้อมูลที่ครบถ้วนและเป็นปัจจุบัน”
เพราะฐานข้อมูลเป็นสิ่งจ�าเป็นในการเป็นปัจจัยน�าเข้าเพื่อการก�าหนดนโยบาย แผนงาน
และกิจกรรมต่าง ๆ ที่สอดคล้องกับสภาพความเป็นจริงของผู้สูงอายุที่จะต้องก�าหนด
นโยบายทั้งเชิงรับและเชิงรุก เพื่อการด�าเนินงานที่มุ่งประสิทธิผลและมีประสิทธิภาพต่อไป
45