Page 8 - บทบาทและความจำเป็น ผู้ดูแลผู้สูงอายุ (Care Giver) ในยุคสังคมสูงวัย
P. 8

จากสถานการณ์ข้างต้น ประเทศไทยก้าวเข้าสู่สังคมสูงวัย (Aging Society)
          หมายถึง สังคมที่มีสัดส่วนของคนสูงอายุมากขึ้นเรื่อย ๆ และสัดส่วนของคนที่เกิดใหม่

          รวมถึงคนท�างานจะน้อยลง การที่ผู้สูงอายุมีจ�านวนเพิ่มขึ้นนั้นเป็นผลจากความส�าเร็จ
          ของการพัฒนาประเทศในด้านแพทย์และการสาธารณสุขที่ท�าให้ประชากรมีอายุขัยสูงขึ้น
          และอัตราการเกิดใหม่ที่ลดลงอย่างรวดเร็ว จากสถานการณ์ดังกล่าวย่อมส่งผลต่อด้าน
          เศรษฐกิจและสังคม ในด้านเศรษฐกิจ ทั้งการบริโภค การออมและการลงทุน การคลัง

          ของประเทศ และการลดลงของก�าลังแรงงาน ส่วนด้านสังคม ผู้สูงอายุขาดความอบอุ่น
          หรืออาจถูกทอดทิ้ง ปัญหาด้านสภาพจิตใจ และภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุที่สภาพทาง
          ร่างกายของผู้สูงอายุ เมื่อเข้าสู่วัยเสื่อมถอยของร่างกาย ประชาชนกลุ่มอายุ 60 ปีขึ้นไป
          พบว่าโรคที่ท�าให้ผู้สูงอายุสูญเสียสุขภาวะ 5 อันดับแรกในผู้ชาย ได้แก่ โรคหลอดเลือดสมอง

          โรคหลอดเลือดหัวใจ ภาวะปอดอุดกั้นเรื้อรัง เบาหวานและโรคมะเร็งตับ ส่วนเพศหญิง
          ได้แก่ โรคหลอดเลือดสมอง โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดหัวใจ สมองเสื่อม และโรคซึมเศร้า
          ตามล�าดับ กระทรวงสาธารณสุขได้กล่าวถึงภาวะคุกคามด้านการดูแลผู้สูงอายุในปัจจุบัน
          ประกอบด้วย



                   ระบบการดูแลรักษาผู้สูงอายุยังไม่แตกต่างจากกลุ่มอายุอื่นมุ่งเน้นการรักษาโรค
                   (Disease Management) มากกว่าการรักษาแบบ Case management
                   มาตรฐานในการดูแลผู้สูงอายุในสถานบริการและในชุมชนต้องการการพัฒนา

                   ระบบและรูปแบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวในชุมชนต่าง ๆ
                   บุคลากรที่มีองค์ความรู้และทักษะในการดูแลรักษาผู้สูงอายุ
                   รูปแบบของบริการสาธารณสุขในอนาคตเพื่อรองรับสังคมสูงวัยเพื่อชะลอ
                   การเสื่อมของร่างกายและจิตใจ














          8
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13