Page 114 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่องปราสาทเขมรสมัยบาปวน
P. 114
โคลด ชาค ได<ตั้งข<อสังเกตจากการอ:านศิลาจารึกอาโรคยศาลาถึงระดับชั้นของโรงพยาบาล
สมัยพระเจ<าชัยวรมันที่ 7 โดยแบ:งได<เปdน 4 ระดับ (โคลด ชาค, 2534: 126) ดังนี้
1) โรงพยาบาล 4 แห:ง ประจำทิศต:าง ๆ ของเมืองพระนคร จารึกระบุผู<ดูแลราว 200 คน
2) โรงพยาบาลที่เมืองพิมาย มีความสำคัญเทียบเท:าที่เมืองพระนคร แต:องคGกษัตริยGไม:
พระราชทานสิ่งใดสำหรับประกอบพิธีบวงสรวงเลย (จารึกเมืองพิมาย K.952)
3) โรงพยาบาลที่มีผู<ดูแลประมาณ 100 คน (จารึกพนมวัน K.395 และจารึกด:านปะคำ
จ.บุรีรัมยG K.386)
4) โรงพยาบาลที่มีผู<ดูแลประมาณ 50 คน (จารึกตาเมือนโต°จ จ.สุรินทรG K.375 จารึกครบุรี
จ.นครราชสีมา K.387 และจารึกกู:แก<ว จ.ขอนแก:น)
ผู<วิจัยมีข<อสังเกตเกี่ยวกับตำแหน:งของอาโรคยศาลาในกรณีประเทศไทยว:าสามารถแบ:ง
ออกได< 4 ประเภท ดังนี้
1) โรงพยาบาลที่ตั้งอยู:ในบริเวณเมืองศูนยGกลาง ได<แก: กุฏิüษีประจำเมืองพิมาย กุฏิüษี
หนองบัวรายประจำเขาพนมรุ<ง
2) โรงพยาบาลที่ตั้งอยู:ใกล<กับปราสาทเขมรสมัยก:อนหน<า เช:น ปราสาทบ<านปราสาท -
ปราสาทหมื่นชัย (พุทธศตวรรษที่ 15) ปราสาทเมืองเก:า – ปราสาทเมืองแขกและปราสาทโนนกู:
(พุทธศตวรรษที่ 15) กุฏิüษีโคกเมือง - ปราสาทเมืองต่ำ (สมัยบาปวน) ปราสาทนางรำ – กู:พราหมณG
จำศีล (สมัยบาปวน) ปราสาทบ<านปราสาท – กู:บ<านปราสาท (สมัยบาปวน) ปราสาทตาเมือนโต°จ -
ปราสาทตาเมือนธม (สมัยบาปวน) กู:โพนระฆัง - กู:กาสิงหG (สมัยบาปวน) กู:สันตรัตนG – กู:น<อย (สมัย
บาปวน) เปdนต<น
3) โรงพยาบาลที่ตั้งขึ้นในเขตชุมชนที่ไม:เคยปรากฏวัฒนธรรมเขมรมาก:อนในบริเวณ
ใกล<เคียง เช:น กู:พันนา กู:แก<วบ<านจีต กู:ประภาชัย กู:แก<ว ปรางคGกู:บ<านแท:น ปรางคGครบุรี เปdนต<น
4) โรงพยาบาลที่สร<างขึ้นในบริเวณที่เคยมีศาสนสถานมาแต:เดิมในสมัยทวารวดี เช:น
โบราณสถานสระมรกต
จากข<อสังเกตข<างต<นจะเห็นได<ว:า การสร<างโรงพยาบาลในสมัยพระเจ<าชัยวรมันที่ 7 เพื่อเปdน
การอำนวยความสะดวกให<กับประชาชนในการรักษาโรคภัยไข<เจ็บ จึงมีแผนในการก:อสร<างใกล< ๆ กับ
ชุมชนที่มีอยู:เดิมเปdนหลัก โดยชุมชนที่เคยมีอยู:แต:เดิมหลายแห:งก็เปdนชุมชนเขมรสมัยบาปวนนั่นเอง
(ประเภทที่ 2) ด<วยเหตุนี้จะมีความเปdนไปได<หรือไม:ว:า ชุมชนในบริเวณปราสาทดังกล:าวมีการอยู:
อาศัยอย:างน<อยกว:า 200 ปá คือตั้งแต:สมัยบาปวนจนถึงสมัยบายน หรือตั้งแต:ราวกลางพุทธศตวรรษ
ที่ 16 ถึงครึ่งหลังของพุทธศตวรรษที่ 18
107