Page 117 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่องปราสาทเขมรสมัยบาปวน
P. 117

ภาพที่ 86 ตระพังด<านตะวันออกของกุฏิüษีโคกเมือง อ.ประโคนชัย จ.บุรีรัมยG


                           โดยสรุปแล<วอาโรคยศาลาสมัยพระเจ<าชัยวรมันที่ 7 ในเขตภาคอีสานมักสร<างอยู:ในบริเวณ

                    ใกล<เคียงกับชุมชนเขมรที่มีมาก:อน โดยเฉพาะใกล< ๆ กับปราสาทเขมรสมัยพุทธศตวรรษที่ 15 - 16
                    และสมัยบาปวน ซึ่งปราสาทสมัยบาปวนนั้นก็มีตระพังที่เคยใช<มาก:อนแล<วด<วย แต:ในสมัยบายนก็ยัง

                    มีการสร<างตระพังขึ้นเพิ่มเติมโดยอยู:ทางตะวันออกของอาโรคยศาลา และมีสัดส:วนความกว<างต:อ

                    ความยาวประมาณ 1 : 2
                           ผู<วิจัยมีความเห็นว:าในกรณีของตระพังประจำอาโรคยศาลานี้มีวัตถุประสงคGการสร<างหลัก

                    เพื่อกักเก็บน้ำไว<ใช<สำหรับการเกษตรกรรมของชุมชนโดยรอบ ดังจะเห็นได<จากในปÑจจุบันก็ยังมีผืนนา
                    อยู:รอบ ๆ ตระพัง และอาโรคยศาลาแทบทุกแห:งนั้นมีสระน้ำขนาดเล็กนอกเขตกำแพงแก<วอยู:แล<ว

                    สระน้ำนี้ย:อมมีไว<ใช<สอยสำหรับวิหารหรือตัวสถานพยาบาล (ที่คงเปdนอาคารเครื่องไม<) ที่น:าจะตั้งอยู:

                    ไม:ไกลกันนั่นเอง


                    3.3)  ขSอมูลจากศิลาจารึกเขมรสมัยบาปวนที่พบในประเทศไทย

                           จากการรวบรวมข<อมูลทั้งจากหนังสือจารึกในประเทศไทยของกรมศิลปากร และฐานข<อมูล
                    จารึกในประเทศไทยที่จัดทำโดยศูนยGมานุษยวิทยาสิรินธร พบว:ามีจารึกเขมรสมัยบาปวน 23 หลัก
                                                                                                     1






                           1  ไม:นับรวมจารึกปราสาทเมืองต่ำจำนวน 4 จุด (บร.25, บร.26, บร.27 และ บร.28) ซึ่งเปdนคำนามสั้น ๆ
                    และในระหว:างทำวิจัยมีรายงานการค<นพบจารึกหลักใหม:ที่กรอบประตูของสระน้ำที่ปราสาทเมืองต่ำ ซึ่งมีข<อความ
                    ค:อนข<างยาว แต:ยังอยู:ระหว:างการอ:านและแปลโดยกรมศิลปากร จึงไม:นำมาพิจารณาด<วย




                                                           110
   112   113   114   115   116   117   118   119   120   121   122