Page 122 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่องปราสาทเขมรสมัยบาปวน
P. 122

2)  จารึกวัดสุปÑฏนาราม 2 จ.อุบลราชธานี (K.370)

                           กล:าวถึงการประดิษฐานรูปเคารพ แต:ข<อความชำรุดขาดหายไปมาก แต:ก็มีระบุถึงคำว:า

                    ต<นมะพร<าว ต<นมะตูม กระบือ สำริด และรายชื่อข<าทาสบางคน
                           3)  จารึกปราสาทพนมวัน 5 จ.นครราชสีมา (K.393)

                           เปdนคำสาปแช:งผู<ที่ทำลายเทวาลัย ความว:า “คำขู"ถึงนรก 32 ขุม โดยไม"มีการละเวKน แก"คน

                    วิกลจริต คนโลภ และครอบครัวของเขาที่ทำลายเทวาลัยแห"งนี้”
                           4)  จารึกปราสาทพนมวัน 6 จ.นครราชสีมา (K.392)

                           เปdนข<อความสั้น ๆ และชำรุดขาดหาย ระบุถึงสงกรานตGและเทพเจ<า (กมรเตงชคต)
                           5)  จารึกปราสาทพนมวัน 7 จ.นครราชสีมา

                           เปdนข<อความสั้น ๆ และชำรุดขาดหาย ระบุถึงวงศGกษัตริยGแห:งกัมพุช

                           6)  จารึกปราสาทพนมวัน 13 จ.นครราชสีมา
                           เปdนข<อความสั้น ๆ กล:าวว:า “ขอความนอบนKอมจงมีแต"พระศิวะ”

                           7)  จารึกสำนักนางขาว จ.มหาสารคาม (K.1094)
                           พระเจ<าชัยวรมันที่ 6 โปรดเกล<าฯ ให<จารึกพระสุพรรณบัฏเพื่อเก็บไว<ในเทวาลัยแห:งหนึ่ง

                    โดยมีรายนามข<าราชการที่มีชื่อเดียวกันแต:ต:างกันที่ตำแหน:งหรือยศ ได<แก: มรตาญศรีราชปติวรมัน

                    พระกมรเตงอัญศรีราชปติวรมัน และกำเสตงศรีราชปติวรมัน
                           8)  จารึกวัดพระธาตุเชิงชุม จ.สกลนคร (K.369)

                           เปdนคำชี้แจงเรื่องที่ดินของหมู:บ<านต:าง ๆ โดยที่ดินที่อยู:ในหลักเขตให<ขึ้นอยู:กับโขลญ

                    ผู<เปdนหัวหน<าแห:งหมู:บ<านชระเลง ส:วนที่ดินนอกหลักเขตให<ขึ้นอยู:กับโขลญผู<เปdนหัวหน<าแห:งหมู:บ<าน
                    พะนุรพิเนา โดยโขลญพลแห:งหมู:บ<านชระเลงได<ถวายข<าทาส 4 คนแด:เทวรูป รวมทั้งถวายวัว 6 ตัว

                    ข<าวเปลือกและนาแด:สงกรานตG


                           3.3.6)  ขSอสังเกตจากเนื้อหาในศิลาจารึกเขมรสมัยบาปวน

                           จากข<อมูลคำแปลศิลาจารึกที่ผู<วิจัยได<นำมาสรุปไว<ข<างต<น สามารถตั้งข<อสังเกตถึงลักษณะ
                    ทางสังคม วัฒนธรรม และเศรษฐกิจ ในสมัยบาปวนได<ดังนี้

                           1)  จารึกมีทั้งพระบรมราชโองการของกษัตริยG และคำสั่งของข<าราชการหรือขุนนาง (ที่อ<าง
                    ถึงพระกระแสรับสั่ง) ในระดับต:าง ๆ เช:น กมรเตงอัญ มรตาญ กำเสตง วาป โขลญ

                           2)  ส:วนใหญ:เปdนจารึกสรรเสริญเทพเจ<าในศาสนาพราหมณG โดยเฉพาะพระศิวะในไศวนิกาย

                    แต:ก็กล:าวถึงเทพเจ<าองคGอื่น ๆ ด<วย (พระวิษณุ พระอุมา พระลักษมี) โดยมีจารึกที่เกี่ยวข<องกับ
                    พุทธศาสนา ได<แก: จารึกศาลสูงภาษาเขมรหลักที่ 1 (พ.ศ. 1565, 1568) จารึกปราสาทพิมาย 2 (พ.ศ.

                    1589) และจารึกบ<านซับบาก (พ.ศ. 1609) ซึ่งมีทั้งนิกายสถวีระ (เถรวาท) และนิกายมหายาน (สกุล





                                                           115
   117   118   119   120   121   122   123   124   125   126   127