Page 123 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่องปราสาทเขมรสมัยบาปวน
P. 123
วัชรยาน) โดยรายชื่อเทพเจ<าที่พบได<แก: กมรเตงชคตศิวบาท (ปราสาทตาเมือนธม) กมรเตงชคต
ศรีพฤทเธศวร (ปราสาทสระกำแพงใหญ:) กมรเตงชคตกันมยังศีลคุณ (กู:บ<านเมย) พระบรมวาสุเทพ
(เมืองลพบุรี) กมรเตงชคตวิมาย (ปราสาทพิมาย) พระพุทธเจ<า พระวัชรสัตวG และพระโลเกศวร
3) จารึกมักระบุถึงสิ่งของเครื่องใช<ที่ถวายให<กับเทพเจ<าหรือทำพลีกรรมในแต:ละวัน หรือ
แต:ละปÑกษG หรือในช:วงเทศกาล โดยเฉพาะวันสงกรานตG โดยสิ่งของหลัก ๆ คือ ข<าวสาร ข<าวเปลือก
และปศุสัตวG (กระบือ วัว แพะ หมู) ซึ่งระบุจำนวนชัดเจน เช:น ข<าว 1 กระเชอ หรือถลวง หรือกระบุง
หมู 1 ตัว เปdนต<น ทั้งยังมีการกำหนดตำแหน:งผู<รักษาบัญชีตรวจตรายุ<งข<าวด<วย และในตอนท<ายของ
จารึกก็มักจะระบุถึงรายชื่อข<าพระ (ทาส) ที่มีผู<ถวาย (หรือจับมา) เพื่อรับใช<อาศรม ซึ่งอันที่จริงแล<ว
มีจำนวนชัดเจน (หากจารึกไม:ลบเลือนหรือแตกหักไป) และยังกำหนดให<ลูกหลานต<องเปdนทาสสืบไป
ทั้งนี้จารึกกู:บ<านเมยยังกำหนดหน<าที่ของข<าพระในการดูแลนาข<าวด<วย
4) จารึกส:วนใหญ:เปdนข<อความเรื่องการกัลปนาที่ดินถวายแด:เทพเจ<า ณ อาศรมต:าง ๆ
มีการจัดสรรที่ดินโดยปÑกหลักเขตตามทิศทางที่ระบุแน:นอน (ทิศหลัก หรือทิศรองคือทิศเฉียง)
โดยกล:าวถึงทรัพยGสินมีค:า (โดยเฉพาะเครื่องประดับทองและเงิน) ที่ใช<แลกเปลี่ยนหรือซื้อขายที่ดิน
เพื่อมอบให<อาศรม โดยรายชื่อชุมชนหรือเขตที่ดินที่พบในจารึก เช:น กระวานสะเทก มันติตระลาภ
ตูเรีย สำโรง สดุกอำพิล สุขาลัย สตุกกทัมพกะ พนมพระ อังเวง ณทาหกะ สวาทเยา ชระเลง
พะนุรพิเนา ส:วนสระหรืออ:างเก็บน้ำนั้น มีทั้งตฏากะและตระพัง ได<แก: ตระพังกุเรก (ตฺรวางฺกุเรกฺ)
และตระพังตันโนด (ตฺรวางฺตนฺโนตฺ) ตระพังพราหมณG (ตฺรวางฺวฺราหฺมณ) สระน้ำกุฏิ (กุฏีตฏาก)
สระน้ำใหญ: (วฺระตฺรวางฺติมหิมา) รวมทั้งเขื่อนกั้นน้ำ (มุษิกสฺถลา) เขื่อน (วฺระทำนบ) แม:น้ำหรือ
ทะเลสาบ (วฺระทฺนเล) แต:กลับไม:พบคำว:าบาราย
ดังนั้นจะเห็นได<ถึงระบบการจัดการของปราสาท ผืนนา และแหล:งน้ำของชุมชนเขมร
สมัยบาปวน ซึ่งพระมหากษัตริยGทรงเปdนผู<จัดสรรผลประโยชนGอันชอบธรรมให<แก:ข<าราชการหรือ
ขุนนาง (ที่ทำความดีความชอบ) ในการกำหนดขอบเขตที่ดินที่จะกัลปนาให<กับอาศรมต:าง ๆ อันถือ
เปdนทรัพยGมรดกของตระกูล พร<อมกันนั้นยังต<องมีการถวายสิ่งของเครื่องใช<และข<าทาสให<กับเทพเจ<า
ซึ่งถือเปdนแรงงานของชุมชนทั้งระดับหมู:บ<านและเมืองด<วย
3.4) การศึกษาที่ผMานมาเกี่ยวกับวัฒนธรรมเขมรสมัยบาปวนในประเทศไทย
การศึกษาที่ผ:านมาทางด<านโบราณคดีและประวัติศาสตรGศิลปะมักเน<นไปที่วัฒนธรรมเขมร
สมัยก:อนเมืองพระนคร (โดยเฉพาะรัชกาลพระเจ<ามเหนทรวรมัน) สมัยเมืองพระนครโดยเฉพาะสมัย
นครวัด (รัชกาลพระเจ<าสูรยวรมันที่ 2) และสมัยบายน (รัชกาลพระเจ<าชัยวรมันที่ 7) แต:หลักฐานใน
สมัยบาปวนก็ปรากฏอยู:เปdนจำนวนมากและพบกระจายทั่วไปทั้งในเขตภาคอีสานและภาคตะวันออก
รวมทั้งภาคกลางที่เมืองลพบุรี โดยสามารถสรุปผลการศึกษาที่ผ:านมาออกได< 2 ประเด็นหลัก ดังนี้
116