Page 109 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่องปราสาทเขมรสมัยบาปวน
P. 109
3.2.2) วัฒนธรรมเขมรสมัยนครวัดและบายน
ในสมัยนครวัดและบายนมีชุมชนเขมรเกิดขึ้นหลายแห:งในภาคอีสาน บางชุมชนมีขนาดใหญ:
และมีความสำคัญในฐานะเมืองศูนยGกลางของภูมิภาค โดยเฉพาะเมืองพิมายซึ่งมีกำแพงเมืองและ
บารายขนาดใหญ:ในผังสี่เหลี่ยมชัดเจน แต:หลายชุมชนก็ยังเปdนไปในลักษณะดั้งเดิมคือมีเฉพาะ
ปราสาทและตระพัง รวมทั้งชุมชนประเภทที่มีอาโรคยศาลาสมัยพระเจ<าชัยวรมันที่ 7 ตั้งอยู:ด<วย
3.2.2.1) เมืองพิมาย
ปราสาทพิมายซึ่งอาจมีมาแล<วอย:างน<อยในสมัยพระเจ<าชัยวีรวรมัน (ดังข<อความใน
จารึกวัดจงกอที่อ<างแล<วในบทที่ 2) ได<ทวีความสำคัญอย:างสูงสุดในสมัยนครวัดและบายน จารึก
พิมาย 3 (K.397 ศักราชตรงกับ พ.ศ. 1651) ระบุถึงการสถาปนาพระกมรเตงชคตเสนาบดีไตรโลกย
วิชัย (พระโพธิสัตวGในพุทธศาสนานิกายวัชรยาน) เพื่อคอยคุ<มครองพระกมรเตงชคตวิมาย (ที่คงมี
มาแล<วตั้งแต:สมัยพระเจ<าชัยวีรวรมัน) โดยนักวิชาการส:วนใหญ:เชื่อว:าโครงสร<างหลักโดยเฉพาะ
ปราสาทประธานที่ก:อสร<างด<วยหินทรายสีขาวนั้นเปdนงานในช:วงนี้อันตรงกับช:วงต<นของรัชกาล
พระเจ<าธรณินทรวรมันที่ 1 (หม:อมเจ<าสุภัทรดิศ ดิศกุล, 2547 ค: 22) ต:อมาในรัชกาลพระเจ<า
ชัยวรมันที่ 7 จึงได<มีการก:อสร<างปรางคGพรหมทัตด<วยศิลาแลงอยู:ภายในระเบียงคดของปราสาท
พิมาย พร<อมกับประดิษฐานประติมากรรมรูปเหมือนพระเจ<าชัยวรมันที่ 7 และมีการก:อสร<างกำแพง
และประตูเมืองด<วยศิลาแลงซึ่งมีลักษณะคล<ายกับประตูเมืองนครธมที่สร<างขึ้นในสมัยนี้เช:นเดียวกัน
นอกกำแพงเมืองพิมายด<านทิศตะวันออกเฉียงใต<มีอาโรคยศาลา (กุฏิüษีเมืองพิมาย) และยัง
มีแนวคันดินรูปสี่เหลี่ยมผืนผ<าที่เปdนบารายประจำเมืองพิมาย บารายนี้มีขนาด 700 x 1,300 เมตร
(อลิซาเบธ มัวรG, 2531: 447) วางตัวในแนวตะวันตกเฉียงเหนือ-ตะวันออกเฉียงใต< (เบี่ยงเบนจากทิศ
ตะวันออกไปทิศใต< 68 องศา) ซึ่งเปdนแนวเดียวกับปราสาทพิมายและประตูเมือง กึ่งกลางบาราย
มีซากโบราณสถานเรียกว:า “วัดโคก” ในลักษณะคล<ายกับเกาะหรือ “แม:บุญ” ที่กึ่งกลางบารายใน
กัมพูชา เช:น อินทรตฏากะ ยโศธรตฏากะ บารายตะวันตก บารายที่ปราสาทบันทายฉมารG (ภาพที่
78)
102