Page 169 - เอกสารคำสอนทวารวดี - ศรีวิชัย
P. 169

58  ส านักศิลปากรที่ 4 ลพบุรี, รายงานการศึกษาทางด้านโบราณคดีแหล่งโบราณคดีดงแม่นางเมือง
                       ต าบลเจริญผล อ าเภอบรรพตพิสัย จังหวัดนครสวรรค์ (กรณีศึกษาเฉพาะเนินดินนอกเมืองโบราณดงแม่

                       นางเมืองด้านทิศตะวันออกเฉียงใต้) (ลพบุรี: ส านักศิลปากรที่ 4, 2552), 5 – 7.
                              59  เรื่องเดียวกัน, 25 ; พิมพ์ชนก พงษ์เกษตรกรรม์, “พิธีกรรมหลังความตายในวัฒนธรรมทวารวดี
                       มุมมองใหม่จากชุมชนโบราณดงแม่นางเมือง อ.บรรพตพิสัย จ.นครสวรรค์,” ใน เสวนาวิชาการทวารวดี
                       อัพเดท! ทวารวดีจากภาคสนาม (ปทุมธานี: คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต, 2556),
                       40 - 42.
                              60  Wesley  Clark,  “The  Skeletons  of  Phong  Tuek:  Human  Remains  in  Dvaravati  Ritual

                       Contexts,” in Before Siam: Essays in Art and Archaeology, eds. By Nicolas Revire and Stephen A.
                       Murphy (Bangkok: River Books and The Siam Society, 2014), 324.
                              61  ส านักศิลปากรที่ 4 ลพบุรี, รายงานการศึกษาทางด้านโบราณคดีแหล่งโบราณคดีดงแม่นางเมือง
                       ต าบลเจริญผล อ าเภอบรรพตพิสัย จังหวัดนครสวรรค์ (กรณีศึกษาเฉพาะเนินดินนอกเมืองโบราณดงแม่

                       นางเมืองด้านทิศตะวันออกเฉียงใต้), บทที่ 2.
                              62  เรื่องเดียวกัน, 131.
                              63  ดูรายละเอียดได้ใน กรมศิลปากร, รายงานการขุดค้นและขุดแต่งเมืองดงละคร อ าเภอเมือง จังหวัด
                       นครนายก (กรุงเทพฯ: กองโบราณคดี กรมศิลปากร, 2536).
                              64  ดูรายละเอียดได้ใน เขมิกา หวังสุข, “พัฒนาการทางวัฒนธรรมในลุ่มแม่น ้ามูล: กรณีศึกษาแหล่ง
                       โบราณคดี เมืองเสมา อ าเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา,” วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (โบราณคดี

                       สมัยประวัติศาสตร์) มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2543.
                              65  http://www.sac.or.th/databases/inscriptions/inscribe_detail.php?id=332 ; ยอร์ช เ ซเ ดส์,
                       “ศิลาจารึกบ่ออีกา,” แปลโดย หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุล และฉ ่า ทองค าวรรณ, จาก Stèle de Bô Ika
                       (K.400), โบราณคดี 1, 2 (ตุลาคม - ธันวาคม 2510): 55 - 58.

                              66  กองโบราณคดี กรมศิลปากร, ท าเนียบโบราณสถานขอมในประเทศไทย เล่ม 1 นครราชสีมา
                       (กรุงเทพฯ: ส านักพิมพ์สมาพันธุ์, 2535), 139 – 150 ; หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุล, ศิลปะสมัยลพบุรี
                       (กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2547. (พิมพ์ในงานพระราชทานเพลิงศพศาสตราจารย์ หม่อมเจ้า
                       สุภัทรดิศ ดิศกุล ป.จ.,ม.ป.ช.,ม.ว.ม. วันอังคารที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2547), 8, 25.
                              67  สฤษดิ์พงศ์ ขุนทรง, “ความสัมพันธ์ไทย-อินเดีย: ศึกษาจากถ ้าศาสนสถานระยะแรกในประเทศ
                       ไทย,” ด ารงวิชาการ 6, 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม, 2550): 40 - 60.
                              68  เท่าที่ทราบเรายังส ารวจไม่พบแหล่งโบราณคดีในบริเวณใกล้เคียงกับถ ้าพระโพธิสัตว์นี้ แต่ภายใน

                       เขต จ.สระบุรี ก็มีเมืองโบราณในวัฒนธรรมทวารวดีอย่างน้อย 2 แห่ง คือ เมืองขีดขิน อ.บ้านหมอ และเมือง
                       อู่ตะเภา อ.หนองแซง ซึ่งได้มีการส ารวจ-ขุดค้นโดยภาควิชาโบราณคดีแล้ว
                              69  หม่อมเจ้า สุภัทรดิศ ดิศกุล ทรงแปล, “ความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับถ ้าพระโพธิสัตว์ อ าเภอแก่งคอย
                       จังหวัดสระบุรี,” เมืองโบราณ 20,4 (ตุลาคม-ธันวาคม 2537) : 57 - 62. ผศ.ดร.จิรพัฒน์ ประพันธ์วิทยา

                       ได้แนะน าผู้เขียนเมื่อวันที่ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2550 ว่า เรื่องราวที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงธรรมโปรดพระศิวะ
                       และพระวิษณุพร้อมกันนี้ อาจมีปรากฏอยู่ใน “ลลิตวิสตระ” คัมภีร์พุทธประวัติภาษาสันสกฤตผสมปรากฤต
                       ซึ่งมีแนวคิดของมหายานเข้ามาเกี่ยวข้องแล้ว






                                                               163
   164   165   166   167   168   169   170   171   172   173   174