Page 171 - เอกสารคำสอนทวารวดี - ศรีวิชัย
P. 171

วัฒนธรรมทวารวดีที่อยู่ห่างออกไปไม่ไกลนัก ดูใน พิริยะ ไกรฤกษ์, “ประติมากรรมสมัยทวารวดีที่บริเวณ
                       ถ ้าเขางู จังหวัดราชบุรี,” ใน ศิลปและโบราณคดีในประเทศไทย (กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร, 2518), 90.

                       น่าสังเกตว่าได้พบร่องรอยของพุทธศาสนามหายานที่เมืองโบราณคูบัวด้วย ได้แก่ ประติมากรรมพระโพธิสัตว์
                       ต่างๆ แต่ถ ้าในเทือกเขางูนี้ได้พบเฉพาะร่องรอยของพุทธศาสนาหีนยานหรือเถรวาท
                              80  เรื่องเดียวกัน, 90 - 91.
                              81  ยอร์ช เซเดส์, ประชุมศิลาจารึกภาคที่ 2 : จารึก ทวารวดี ศรีวิชัย ละโว้, แปลโดย หม่อมเจ้า
                       สุภัทรดิศ ดิศกุล, พิมพ์ครั้งที่ 2 (กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร, 2526), 20. ชะเอม แก้วคล้าย นักอ่านจารึกของ
                       กรมศิลปากร ได้อ่านจารึกนี้ใหม่ว่า “ปุญกรมชฺระ ศฺรีสมาธิคุปฺต” แปลว่า “พระศรีสมาธิคุปตะผู้บริสุทธิ์ด้วย

                       การกระท าบุญ” ดูใน กรมศิลปากร, จารึกในประเทศไทย เล่ม 1 อักษรปัลลวะ หลังปัลลวะ พุทธศตวรรษที่
                       12-14 (กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร, 2529), 68-71. ขณะที่พิสัณห์ ปลัดสิงห์ นักวิชาการอิสระ ได้เสนอว่า จารึกนี้
                       เป็นภาษามอญโบราณอ่านว่า “บุญ พระฤาษีชู ศรีสมาธิคุปต” แปลว่า “พระฤาษีสมาธิคุปตใช้มีดเขียนไว้” ดูใน
                       พิสัณห์ ปลัดสิงห์, คนมอญ (กรุงเทพฯ: ส านักพิมพ์แสงแดด, 2530), 99 - 102.

                              82  พิริยะ ไกรฤกษ์ “ประติมากรรมสมัยทวารวดีที่บริเวณถ ้าเขางู จังหวัดราชบุรี,” 84.
                              83  ภาพประกอบนี้ผู้เขียนได้ถ่ายไว้ในปี พ.ศ. 2547 แต่เมื่อไม่นานมานี้ปูนปั้นบางส่วนของลาย
                       ดังกล่าวได้ช ารุดหลุดร่วงไป ซึ่งเป็นเรื่องที่น่าเสียดายอย่างมาก
                              84  ศรันย์ ทองปาน, “ยายจูงหลาน หลักฐานใหม่ของทวารวดีในเมืองเพชร,” เมืองโบราณ 31,
                       4 (ตุลาคม - ธันวาคม 2548): 3.
                              85  อมรา ศรีสุชาติ, ศิลปะถ ้าสมัยประวัติศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร,

                       2535), หน้า 56-57.
                              86  ที่จังหวัดกาฬสินธุ์ มีเมืองโบราณฟ้าแดดสงยาง ซึ่งมีร่องรอยหลักฐานที่สัมพันธ์กับวัฒนธรรม
                       ทวารวดีในภาคกลางของประเทศไทย และมีลักษณะเด่นทางวัฒนธรรมคือ การสลักใบเสมาที่มีภาพเล่าเรื่อง
                       ทางพุทธศาสนาจ านวนมาก ทั้งนี้ได้มีการศึกษาขุดค้นทางโบราณคดีแล้ว ดูใน ผาสุข  อินทราวุธ และคณะ,
                       รายงานการขุดค้นเมืองโบราณฟ้าแดดสงยาง อ าเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์ (นครปฐม : สถาบันวิจัยและ

                       พัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2544).
                              87  อมรา ศรีสุชาติ, ศิลปะถ ้าสมัยประวัติศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, 68 - 70.
                              88  ดูรายละเอียดทั้งหมดใน ภัทรพงษ์ เก่าเงิน, โบราณคดีคอกช้างดิน (กรุงเทพฯ: ส านักงาน
                       โบราณคดีและพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติที่ 2 สุพรรณบุรี, 2545).
                              89  เรื่องเดียวกัน, 107 - 111 และ 115 - 116.
                              90  Supamas Doungsakun, “Palaeo-Environmental Study at Khok Chang Din Ruins, U-Thong

                       District, Suphanburi Province,” (Master Thesis of Science (Technology of Environmental Management),
                       Faculty of Graduate Studies, Mahidol University, 2005).
                              91  ภัทรพงษ์ เก่าเงิน, โบราณคดีคอกช้างดิน, 67 – 84.
                              92  ดูใน สมศักดิ์ รัตนกุล, “การขุดแต่งโบราณสถานด้านทิศเหนือของคอกช้างดิน อ าเภออู่ทอง
                       จังหวัดสุพรรณบุรี,” ศิลปากร 11, 2 (กรกฎาคม 2510): 78 – 83.

                              93  ภัทรพงษ์ เก่าเงิน, โบราณคดีคอกช้างดิน, 47 - 67.
                              94  ฉ ่า ทองค าวรรณ, “ค าจารึกภาษาสันสกฤตบนแผ่นทองแดง,” ใน โบราณวิทยาเรื่องเมืองอู่ทอง, 24
                       ; วนกร ลออสุวรรณ, “ร่องรอยหลักฐานการนับถือศาสนาพราหมณ์ช่วงก่อนพุทธศตวรรษที่ 16 ที่พบบริเวณ




                                                               165
   166   167   168   169   170   171   172   173   174   175   176