Page 170 - เอกสารคำสอนทวารวดี - ศรีวิชัย
P. 170

70  ศ.ดร.ผาสุข อินทราวุธ เสนอว่า การแสดงภาพลักษณะนี้น่าจะเกี่ยวข้องกับคติของพุทธศาสนา
                       นิกายมหายานตันตระ ซึ่งเจริญรุ่งเรืองอยู่ในบริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดีย ภายใต้การอุปถัมภ์

                       ของราชวงศ์ปาละ ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 14-17 ดูใน ทวารวดี : การศึกษาเชิงวิเคราะห์จากหลักฐานทาง
                       โบราณคดี (กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์อักษรสมัย, 2542), 166. ดร.พิริยะ ไกรฤกษ์ เสนอว่า ภาพสลักที่ถ ้า
                       พระโพธิสัตว์แสดงให้เห็นถึงคุณลักษณะเหนือโลกของพระพุทธเจ้า (โลกุตระ) ที่สามารถแสดงธรรมสั่งสอน
                       เทพเจ้าของศาสนาพราหมณ์ได้ จึงอาจมีความเกี่ยวเนื่องกับพุทธศาสนานิกายมหาสังฆิกะ ซึ่งเป็นต้นเหตุแห่ง
                       พัฒนาการของพุทธศาสนามหายานในเวลาต่อมาก็เป็นได้ ดู อารยธรรมไทย พื้นฐานทางประวัติศาสตร์ศิลปะ
                       เล่ม 1 ศิลปะก่อนพุทธศตวรรษที่ 19 (กรุงเทพฯ: บริษัท อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิซซิ่ง จ ากัด (มหาชน),

                       2544), 60.
                              71  ภาพสลักที่ถ ้าพระโพธิสัตว์นี้ยังมีปัญหาในการก าหนดอายุ ศาสตราจารย์ หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ
                       ดิศกุล ได้ทรงก าหนดไว้ในราวพุทธศตวรรษที่ 13-14 ดูใน ศิลปะในประเทศไทย, พิมพ์ครั้งที่ 11 (กรุงเทพฯ :
                       โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2539), 43. ดร.พิริยะ ไกรฤกษ์ ก าหนดให้อยู่ในช่วงครึ่งหลังของ

                       พุทธศตวรรษที่ 11 ดูใน อารยธรรมไทย พื้นฐานทางประวัติศาสตร์ศิลปะ เล่ม 1 ศิลปะก่อนพุทธศตวรรษที่
                       19, 59-60. ดร.ศักดิ์ชัย สายสิงห์ ก าหนดอายุให้อยู่ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 12-13 ดูใน ศิลปะทวารวดี :
                       วัฒนธรรมพุทธศาสนายุคแรกเริ่มในดินแดนไทย (กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ, 2547), 215-217.
                              72  Dupont, L'archéologie mðne de Dvaravati, 266 ; พิริยะ ไกรฤกษ์, อารยธรรมไทย พื้นฐานทาง
                       ประวัติศาสตร์ศิลปะ เล่ม 1 ศิลปะก่อนพุทธศตวรรษที่ 19, 60.
                              73  Dupont, L'archéologie mðne de Dvaravati, 269 - 271 ; Jeannine Auboyer, Le trðne et son

                       symbolisme dans l’Inde ancienne (Paris: Universitaires de France, 1949), 117 - 125.
                              74  มีการส ารวจและขุดหลุมตรวจสอบ (Test Pit) ขนาด 50x50 เซนติเมตร บริเวณปากถ ้าพบว่า
                       พื้นดินมีความลึกราว 50 เซนติเมตร พบเศษภาชนะดินเผาทั้งภาชนะเนื้อดินธรรมดา (Earthenware)
                       และภาชนะเนื้อแกร่ง (Stoneware) ทางคณะขุดค้นสันนิษฐานว่าภาชนะเนื้อดินธรรมดานั้นเป็นภาชนะในสมัย
                       ทวารวดี ส่วนภาชนะเนื้อแกร่งซึ่งพบในปริมาณน้อยคงเป็นภาชนะสมัยลพบุรี ดังนั้นแหล่งโบราณคดีแห่งนี้คง

                       มีการเข้ามาใช้พื้นที่ในสมัยทวารวดี แล้วทิ้งร้างไปในช่วงหลังสมัยลพบุรี ดู อุทยานประวัติศาสตร์ศรีเทพ,
                       รายงานเบื้องต้นการส ารวจแหล่งโบราณคดี ถ ้าเขาถมอรัตน์ ต.โคกสะอาด อ.ศรีเทพ จ.เพชรบูรณ์ (กอง
                       โบราณคดี กรมศิลปากร, 2533), 2-3 และ 7.
                              75  Jean Boisselier, “Quelques Enseignements des Sculptures rupestres de la  périod de
                       Dvaravati,“ in Récentes recherches en archéologie en thaïlande, deuxième symposium Franco-Thai
                       9-11 décembre 1991, Université Silpakorn (Bangkok: Amarin Printing group. Co., Ltd., 1993.), 15.

                              76  ดูใน ส านักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ, จากห้วงอวกาศสู่พื้นแผ่นดินไทย
                       พ.ศ. 2546 (กรุงเทพฯ : ส านักงานฯ, 2546), 509 - 510.
                              77  ดูรายละเอียดได้ใน อุทยานประวัติศาสตร์ศรีเทพ, น าชมอุทยานประวัติศาสตร์ศรีเทพ (บริษัท
                       อาทิตย์ โพรดักส์ กรุ๊ป จ ากัด, 2544).
                              78  ศรีศักร วัลลิโภดม, “จากถ ้าถมอรัตน์ถึงถ ้าโพธิสัตว์,” เมืองโบราณ 15,1 (มกราคม-มีนาคม 2532)

                       : 57 - 58.
                              79  ดร.พิริยะ ไกรฤกษ์ กล่าวว่า ถ ้าในเทือกเขางูเหล่านี้ น่าจะเป็นที่ซึ่งพระสงฆ์มาจ าพรรษาและหา
                       ความสงบวิเวก เพราะเป็นสถานที่ห่างไกลจากตัวเมือง โดยเฉพาะจากเมืองคูบัวอันเป็นเมืองโบราณส าคัญใน




                                                               164
   165   166   167   168   169   170   171   172   173   174   175