Page 5 - Waste To Wealth : เงินทองจากกองขยะ ถอดบทเรียนการจัดการขยะตามหลักเศรษฐกิจหมุนเวียน
P. 5
ค�าน�า
ปัญหาขยะ จะไม่ใช่ปัญหาอีกต่อไป
ผมคิดเช่นนี้ เมื่ออ่านหนังสือเล่มนี้จบลง
เพราะยังมีคนจ�านวนมากที่เห็นว่า ขยะสร้างผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตความเป็นอยู่
และได้ลุกขึ้นมาจัดการปัญหาขยะด้วยตนเอง แล้วยังเป็นแบบอย่างให้คนอื่นๆ ได้ท�าตามอีกด้วย
ขยะจัดการได้ หากมุ่งมั่นและร่วมมือกัน
12 ต้นแบบ ใน “Waste to Wealth … เงินทองจากกองขยะ” เป็นตัวอย่างที่แสดง
ให้เห็นถึงความมุ่งมั่น และความร่วมมือในการจัดการปัญหาขยะ ปัญหาที่แตกต่างกันไป
ไม่ว่าจะเป็นขยะล้นถังจนเพื่อนบ้านทะเลาะเบาะแว้งกัน ขยะที่เป็นสาเหตุของปัญหาสุขภาพ
ขยะที่เข้ามาพร้อมกับความเจริญเติบโตของชุมชน ขยะจ�านวนมหาศาลหลังงานบุญ
แต่สิ่งที่เหมือนกันคือ ความมุ่งมั่น และความร่วมมือ ความมุ่งมั่นของผู้น�าที่จะขับเคลื่อน
ขจัดปัญหาขยะ ความร่วมมือของคนในชุมชนนั้นๆ ที่ร่วมแรงร่วมใจตระหนักและปรับพฤติกรรม
จนเกิดความเปลี่ยนแปลง ขยะหายไป คุณภาพชีวิตที่ดีกลับมา ที่ส�าคัญ ขยะยังสร้างคุณค่า
ทางใจ และสร้างมูลค่าเป็นเงินเป็นทองให้กับหลาย ๆ ชุมชน
เอสซีจี มุ่งมั่นผลักดันให้เกิดการบริหารจัดการขยะ (Waste management)
อย่างเป็นระบบและเป็นรูปธรรม ภายใต้แนวปฏิบัติ SCG Circular Way สนับสนุน
ให้เกิดการเปลี่ยนพฤติกรรมการผลิตและการบริโภคสู่แนวปฏิบัติของหลักเศรษฐกิจหมุนเวียน
เราเริ่มต้น “บางซื่อโมเดล” บริหารจัดการขยะภายในส�านักงานใหญ่บางซื่อ โดยมีพลัง
ความร่วมมือจากพนักงานทุกคน “ใช้ให้คุ้ม แยกให้เป็น ทิ้งให้ถูก” เพื่อเป้าหมายไม่มีขยะ
จากส�านักงานใหญ่บางซื่อที่ไปบ่อฝังกลบอีกเลย
เอสซีจี ยังมุ่งหวังความร่วมมือจากทุกภาคส่วน เพราะจะเป็นหัวใจส�าคัญที่ท�าให้
การจัดการขยะ ตามหลักเศรษฐกิจหมุนเวียนเกิดขึ้นได้จริง จึงได้ถอดบทเรียนความส�าเร็จ
ที่หลากหลาย ทั้งชุมชนที่เราเข้าไปร่วมด�าเนินการ ชุมชนเครือข่าย รวมถึงตลาด วัด
องค์กรเอกชน และสถาบันการศึกษา เพื่อเป็นต้นแบบสร้างแรงบันดาลใจ และการเรียนรู้
ที่สามารถน�าไปปรับประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมตามบริบทของตนเอง เพื่อร่วมสร้างเครือข่าย
ที่เข้มแข็งในการจัดการปัญหาขยะ เพื่อปัญหาขยะจะไม่ใช่ปัญหาอีกต่อไป และเพื่ออนาคต
ที่ยั่งยืนของชุมชนและสังคมตลอดไป
รุ่งโรจน์ รังสิโยภาส
กรรมการผู้จัดการใหญ่ เอสซีจี