Page 127 - ถอดบทเรียนน้ำมันดิบรั่วไหล บริเวณจุดขนถ่ายกลางทะเลและหากแม่รำพึงจังหวัดระยอง ปี 2565
P. 127

ทำให แนวทางการรักษาและการส งต อสามารถประสานได คล องตัว และหากพบป ญหา

         มีการนำมาพิจารณาแก ไขร วมกันอย างเป นระบบ

               2. การเตรียมการซ อมแผน และกำหนดแผนเป นระยะ ๆ ก อนเกิดเหตุ

               เนื่องจากบริบทพื้นที่เป นเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (Eastern Economic
         Corridor : EEC) ซึ่งมีโรงงานจำนวนมากในพื้นที่ทำให มีการซ อมแผนอย างต อเนื่อง

         และมีรูปแบบการซ อมที่หลากหลาย ทำให เมื่อเกิดสถานการณ จริงการประกาศใช แผน

         เป นไปอย างรวดเร็ว เชื่อมโยงได ทุกหน วยงาน ซึ่งการซ อมแผนทำให เกิดการทบทวน

         ช องทางการติดต อที่เป นป จจุบัน และความสัมพันธ ระหว างหน วยงานทั้งภาครัฐ เอกชน
         หรือมูลนิธิ เป นไปในทางบวก เข าใจซึ่งกันและกัน และเห็นข อจำกัดของแต ละหน วยงาน

         ทำให สามารถช วยกันป ดความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้น

               3. การทำประกัน หรือ contact เอกชน ในการดูแลรักษาผู ป วยที่ได รับบาดเจ็บ

               การที่บริษัทหรือโรงงานได มีการทำประกันอุบัติเหตุ ทำให เพิ่มช องทางในการส งต อ
         ผู ป วย โดยไม จำเป นต องใช อัตรากำลังประจำหน วยรักษาหรือส งต อไปรักษาที่โรงพยาบาล

         ภาครัฐเพียงอย างเดียว แต เป นการบูรณาการทั้งภาครัฐและเอกชน จึงทำให เกิด

         ความคล องตัวในการใช ทรัพยากรที่หลากหลาย และการส งต อไปยังโรงพยาบาลทั้งรัฐ

         และเอกชนในพื้นที่ ลดภาวะแออัดของแต ละโรงพยาบาลในพื้นที่เกิดเหตุได เป นอย างดี
               4. ข อมูลถอดบทเรียนจากเหตุการณ น้ำมันดิบรั่วไหลครั้งก อน ๆ

               จากการที่จังหวัดระยองเคยเกิดเหตุสาธารณภัยน้ำมันดิบรั่วไหลที่อ าวพร าว

         ทำให เกิดการเรียนรู  และมีการจดบันทึกแนวทางการจัดการต าง ๆ และจัดทำเป นหนังสือ

         เผยแพร ให เข าถึงได ง าย จึงทำให เป นบทเรียนและเป นแผนเผชิญเหตุที่สามารถนำมาใช ได
         ทันที และใช ในการป องกันและแก ไข ป ญหาที่อาจจะเกิดขึ้นในเหตุการณ ที่คล ายคลึงกัน

         เกิดความปลอดภัยทั้งผู ป วย เจ าหน าที่ และประชาชนในพื้นที่นั้น ๆ ตามหลัก 3P safety



                                       {115}
   122   123   124   125   126   127   128   129   130   131   132