Page 128 - ถอดบทเรียนน้ำมันดิบรั่วไหล บริเวณจุดขนถ่ายกลางทะเลและหากแม่รำพึงจังหวัดระยอง ปี 2565
P. 128

!!!!!!อย างไรก็ตามการบริหารจัดการในภาวะฉุกเฉินทุกครั้งจะมีข อจำกัดที่ส งผลให

       การทำงานอาจเกิดอุปสรรคและการปฏิบัติงานไม เป นไปตามแผนต องมีการปรับแก ไข

       ป ญหาเฉพาะหน าเพื่อให เกิดความปลอดภัยกับทุกคน ในครั้งนี้ก็เช นกัน ยังพบมี

       ข อจำกัดในการปฏิบัติงานอยู บ างดังนี้
       !!!!!!1. ระบบการสั่งการที่ไม ชัดเจน

       !!!!!!เนื่องจากการเกิดสถานการณ ทางโรงงานยังไม ได ประกาศแผนที่ชัดเจนทำให การ

       สั่งการระบบ ICS ไม สามารถออกแบบได อย างเป นรูปธรรมในช วงระยะแรก รวมถึง

       การประสานงานสั่งการยังคงใช ระบบเดิม ทำให โรงพยาบาลได รับคำสั่งหรือร องขอ
       มาจากหลายช องทางทำให เกิดการสับสนของข อมูล รวมถึงการประกาศร องขอความ

       ช วยเหลือ โดยปรับแก ไขเสนอให โรงงานประสานงานผ านระบบ ICS และทางโรงพยาบาล

       มีการแจ งหน วยงานที่เกี่ยวข องเพื่อเตรียมรับสถานการณ ก อนการร องขอจริง

       !!!!!!2. การเกิดเหตุซ้ำซ อนของน้ำมันดิบรั่ว
       !!!!!!ป ญหาน้ำมันดิบรั่วซ้ำซ อน ทำให การจัดการเป นระยะยาวนานมากขึ้น ส งผลต อ

       การบริหารทรัพยากรที่ต องใช มากขึ้น อัตรากำลังที่อาจเหนื่อยล าจากภารกิจที่ยาวนานขึ้น

       จึงได ปรับแนวทางการหมุนเวียนอัตรากำลัง และเฝ าติดตามมวลน้ำมันดิบที่จะลอยมา

       ชายฝ  งที่ต องมีการเก็บกู
       !!!!!!3. อัตรากำลังที่ขาดแคลน

       !!!!!!เนื่องจากพื้นที่เกิดเหตุเป นพื้นที่กว างและมีการเคลื่อนย ายของมวลก อนน้ำมันดิบ

       ทำให การประจำพื้นที่การรักษาต องปรับตัว ยืดหยุ น และใช อัตรากำลังมากในการกระจาย

       ลงพื้นที่ให ทั่วถึง ส งผลต อการหมุนเวียนเจ าหน าที่ในจุด Treatment zone และ ALS,
       BLS ตามจุดต าง ๆ แต ด วยความร วมมือทุกภาคส วนทำให การบริหารอัตรากำลังสามารถ

       รวมภาครัฐ เอกชน และมูลนิธิอาสา เป นอัตรากำลังรวม ส งผลให การจัดเวร บริหาร ALS,



                                       {116}
   123   124   125   126   127   128   129   130   131   132   133