Page 129 - ถอดบทเรียนน้ำมันดิบรั่วไหล บริเวณจุดขนถ่ายกลางทะเลและหากแม่รำพึงจังหวัดระยอง ปี 2565
P. 129

BLS ครอบคลุมตามพื้นที่ต าง ๆ รวมทั้งการประชุมติดตามถึงเวลาการทำงานของ

         เจ าหน าที่เก็บกู น้ำมันดิบ ทำให วางแผนอัตรากำลังที่จำเป นต องเพียงพอต อการทำงาน

         เช น เก็บกู ช วงกลางวัน กลางคืนพัก ทางทีมรักษาจะจัดทีมครบถ วนในช วงกลางวัน

         และลดอัตรากำลังเป น 1 จุด และที่เหลือเตรียมพร อม ณ ที่ตั้ง เป นต น รวมทั้งอยู ในช วง
         การแพร ระบาดของโรคติดเชื้อโคโรน าไวรัส 19 ทำให ต องจัดสรรอัตรากำลังทั้ง 2 ภารกิจ

         พร อมกัน จากการทบทวนเหตุการณ จึงมีข อเสนอแนะในการพัฒนาดังนี้

               1. ทบทวนระบบ Incident command system ในภาพระดับจังหวัด

               2. จัดตั้งแผน EOC โดยเป นการบูรณาการแผนจากกรมป องกันและบรรเทา
         สาธารณภัยระยอง แผนพิทักษ ระยอง แผนอุบัติเหตุหมู และสารเคมีโรงพยาบาลระยอง

               3. นำกฎหมายมาใช ให เป นรูปธรรมในการป องกันและการเป ดเผยข อมูลสารเคมี

         ที่สำคัญของทุกโรงงาน

               จากประเด็นข อเสนอแนะดังกล าวจึงได มีการพัฒนาต อเนื่องโดยมีการประชุม
         วางแผนจัด “โครงการพัฒนาระบบบัญชาการเหตุการณ ในสถานการณ ฉุกเฉิน”

         เมื่อวันที่ 30 มีนาคม 2565 โดยหน วยที่เกี่ยวข องดังนี้ องค การบริหารส วนจังหวัดระยอง

         สถาบันการแพทย ฉุกเฉินแห งชาติ หัวหน าสำนักงานป องกันและบรรเทาสาธารณภัย

         หัวหน าอุทยานแห งชาติเขาแหลมหญ า หมู เกาะเสม็ด สำนักงานสาธารณสุขระยอง
         โรงพยาบาลระยอง รศ.นพ.ประสิทธิ์ วุฒิสุทธิเมธาวี รองคณบดีคณะแพทยศาสตร

         มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร  โดยมีเป าหมายเพื่อพัฒนาระบบบัญชาการเหตุการณ

         ในสถานการณ ฉุกเฉิน ซึ่งต องเพิ่มเติมเรื่องของการจัดการสาธารณภัยสารเคมี พื้นที่

         ทางทะเลและการบูรณาการทางบก ทางน้ำ และอากาศ กำหนดแผนการอบรมทั้งภาค
         ทฤษฎีและภาคปฏิบัติรวม 5 วัน กลุ มเป าหมาย ไม เกิน 60 คน มีกรอบระยะเวลา

         การดำเนินงานตั้งแต เมษายน - สิงหาคม 2565 และหลังดำเนินการโครงการแล ว



                                       {117}
   124   125   126   127   128   129   130   131   132   133   134