Page 86 - ถอดบทเรียนน้ำมันดิบรั่วไหล บริเวณจุดขนถ่ายกลางทะเลและหากแม่รำพึงจังหวัดระยอง ปี 2565
P. 86
2.2 เฝ้าระวังสุขภาพผู้เก็บกู้น้ำมันดิบ ประชาชนและบุคลากรผู้ให้บริการ
2.2.1 การเฝ้าระวังทางสาธารณสุข Public Health Surveillance
ดร.นพ.ธรรมสินธ อิงวิยะ
คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
!!!!!!การเฝ าระวัง (Surveillance) มาจากภาษาฝรั่งเศสที่แปลว า!"#$!%'(!$)*+,
หรือใน Oxford dictionary แปลว า "%'(!$+!-.&+/!0*1#!$)*+!&!1*+2$34
*21*'5&667!$)*+!&!2.21*'#*/!1*+2$3, (Stevenson, 2010) เป นศัพท ที่นิยม
ใช นอกวงการแพทย และสาธารณสุข สำหรับ “การเฝ าระวังทางสุขภาพ (Health
8.+)*566&3'*9, ถือกำเนิดมาตั้งแต ป ค.ศ. 1960 โดยประมาณ โดยในอดีตเชื่อว าเป น
แขนงหนึ่งของระบาดวิทยา (Expidemiology) แต ต อมามีการพัฒนาจนแยกออกมาจาก
สาขาระบาดวิทยาอย างชัดเจน แต ยังถือว าเป นส วนหนึ่งของการทำงานด านสาธารณสุข
(Public Health) (Declich & Carter, 1994)
!!!!!!ป จจุบันการเฝ าระวังทางสุขภาพประกอบด วย 2 ระบบหลัก ได แก การเฝ าระวัง
ทางสาธารณสุข (Public Health Surveillance) และการเฝ าระวังทางอาชีพหรือ
การทำงาน (Occupational (US)/Workplace (UK) Health Surveillance) หรือ
การเฝ าระวังทางสิ่งแวดล อม (Environmental Health Surveillance) ซึ่งในบทนี้
จะกล าวถึงประเด็นของ Environmental Health Surveillance และเชื่อมโยงกับ
เหตุการณ คราบน้ำมันดิบไหลลงสู ทะเลเป นสำคัญ
{074}