Page 88 - ถอดบทเรียนน้ำมันดิบรั่วไหล บริเวณจุดขนถ่ายกลางทะเลและหากแม่รำพึงจังหวัดระยอง ปี 2565
P. 88

เป นการรายงานสถานการณ ต าง ๆ โดยผู รายงานมักจะเป นบุคลากรสาธารณสุขที่อยู

       หน างานเอง ฉะนั้นจะประหยัดทรัพยากรมากกว า และมักจะได ข อมูลที่เยอะกว า เร็วกว า

       แบบ Active Surveillance แต ก็ต องแลกมาด วยข อจำกัดที่ว า ข อมูลที่ไม ได เป นระเบียบ

       หรือควบคุมคุณภาพได ยากเช นกัน ตัวอย างระบบ Passive ที่นิยม เช น Routine health
       information systems หรือ Health information and management system

       ในป จจุบันมีการผนวก 2 ชนิดเข าด วยกัน ที่นิยมได แก  Categorical หรือ Syndromic

       surveillance โดยจะสนใจเฉพาะบางกลุ มโรค ซึ่งทีมจะออกแบบเก็บข อมูลทั้งรูปแบบ
       ย อนหลังและไปข างหน า และ Integrated surveillance ซึ่งหมายถึงการออกแบบ

       Infrastructure ในการเก็บข อมูลได อย างครอบคลุมและหลากหลายในคราวเดียวกัน

             จุดประสงค ของการมีระบบการเฝ าระวังทางสาธารณสุข (WHO | Public

       Health Surveillance, n.d.) ได แก

             1. การทราบสัญญาณความผิดปกติตั้งแต เนิ่น ๆ เพื่อเตรียมตัวและป องกันการเกิด
       ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข (Public health emergencies)

             2. เป นเอกสารหรือการบันทึกที่จะส งผลต อการจัดเตรียมแผนและติดตาม

       การดำเนินการต าง ๆ ทางสาธารณสุข
             3. ควบคุมและแสดงให เห็นชัดเจนในประเด็นระบาดวิทยาของป ญหาสุขภาพ

       และสาธารณสุข เพื่อที่จะจัดลำดับความสำคัญและวางแผนนโยบายและกลยุทธ

       ทางสาธารณสุขต อไป

             นิยามและองค ประกอบของการเฝ าระวังทางสาธารณสุข

             ในที่นี้จะอ างอิงนิยามจาก 2 แหล ง ได แก  องค การอนามัยโลก (World Health
       Organization, WHO) ให นิยามของการเฝ าระวังทางสาธารณสุข (Public Health

       Surveillance) (WHO | Public Health Surveillance, n.d.)



                                       {076}
   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92   93