Page 93 - ถอดบทเรียนน้ำมันดิบรั่วไหล บริเวณจุดขนถ่ายกลางทะเลและหากแม่รำพึงจังหวัดระยอง ปี 2565
P. 93
2. สิ่งคุกคามทางกายภาพ (Physical Hazard) ได แก แสง เสียง การสั่นสะเทือน
ฝุ น และมลพิษทางอากาศ เป นต น
3. สิ่งคุกคามทางชีวภาพ (Biological Hazard) ได แก สิ่งมีชีวิต พืช สัตว แมลง
และแบคทีเรีย เป นต น
4. สิ่งคุกคามทางด านสังคมและจิตใจ (Psychosocial Hazard) ได แก ที่อยู อาศัย
ฐานะทางเศรษฐกิจ และสภาพจิตใจ เป นต น
การสัมผัสสิ่งคุกคาม (Exposure) หมายถึง การที่สิ่งคุกคามทุกประเภทเข าสู
ร างกายมนุษย ซึ่งแบ งได เป น 3 ประเภทหลัก ๆ คือ ทางการหายใจ (Inhalation)
ทางการกิน (Ingestion) และดูดซึมทางผิวหนัง (Dermal Absorption) ในทางการ
เฝ าระวังฝุ นในป จจุบันยังไม มี
ความเสี่ยง (Risk) หมายถึง โอกาสการเกิดเหตุการณ ไม พึงประสงค (Yassi &
Kjellström, 1998) โดยทั่วไปในทางอนามัยสิ่งแวดล อมมักจะหมายรวมถึง โอกาส
ในการเกิดโรคหรือผลกระทบทางสุขภาพจากการสัมผัสสิ่งคุกคาม (Effect On Health)
นโยบาย (Policy) หรือกิจกรรมบรรเทาความเสี่ยง (Intervention)
หมายรวมถึง กิจกรรมหรือนโยบายใด ๆ ก็ตามที่บรรเทา แก ไข และป องกันความเสี่ยง
ที่อาจเกิดขึ้นได จากภัยทางสิ่งแวดล อม
โดยสรุปองค ประกอบของ Environmental Health Surveillance จึงควร
ประกอบด วย (ประยุกต Abelsohn, Frank, and Eyles 2009)
1. การติดตามสิ่งคุกคาม (Tracking Hazard)
2. การติดตามการสัมผัส (Tracking Exposure)
3. การติดตามผลกระทบทางสุขภาพที่เหมาะสม (Tracking of Selected Health
Outcome)
{081}