Page 97 - ถอดบทเรียนน้ำมันดิบรั่วไหล บริเวณจุดขนถ่ายกลางทะเลและหากแม่รำพึงจังหวัดระยอง ปี 2565
P. 97

3. การตรวจสุขภาพติดตามต อเนื่อง โดยเฉพาะการตรวจเฉพาะเมื่อจำเป น

               เป นสิ่งจำเป นไม ว าความเสี่ยงหรือสิ่งคุกคามนั้นจะมีมากหรือน อยก็ตาม แต การเลือก

         ตรวจสุขภาพตามความเสี่ยงนั้น ควรพิจารณาเลือกความถี่ในการตรวจตามการประเมิน

         ความเสี่ยงมากกว า ในกลุ มของประชากรกลุ มสัมผัสเสี่ยงต่ำนั้น ไม ได หมายความว า
         ไม จำเป นต องมีการตรวจสุขภาพติดตามต อเนื่อง เพียงแต อาจจะมีตัวเลือกในการตรวจ

         ติดตาม เช น อาจใช การตรวจร างกายและซักประวัติเป นการคัดกรอง เนื่องจากมีค าใช จ าย

         น อยกว า และหากมีอาการหรือการตรวจร างกายผิดปกติแล วจึงส งตรวจเพิ่มเติม
               โดยหากการตรวจติดตามต อเนื่องมีความผิดปกติในประชากรหลายคน อาจปรับ

         ให มีการตรวจถี่ขึ้น หรือเพิ่มชนิดการตรวจทางห องปฏิบัติการให มากขึ้น หรือแม กระทั่ง

         การปรับปรุงการตรวจให มีคุณภาพมากขึ้น โดยอาศัยข อมูลการติดตามเหล านี้

               4. การตรวจเป นกรณีพิเศษ แม จะมีการตรวจสุขภาพเป นประจำ หลังจากกรณี

         ที่เกิดอุบัติเหตุ ดังเช น กรณีน้ำมันดิบรั่วไหลจากท อส ง เป นสิ่งจำเป นและขาดไม ได
               ในกรณีของน้ำมันดิบรั่วไหล ในป พ.ศ. 2556 นั้นมีเพียงเฉพาะพนักงานที่เกี่ยวข อง

         กับการเก็บกู คราบน้ำมันดิบเท านั้นที่มีข อมูล ในขณะที่พนักงานที่ทำงานเกี่ยวพันกับ

         การหยุดการรั่วไหล ไม มีข อมูล ในการนี้ข อเสนอแนะ คือ ไม เพียงเฉพาะพนักงานที่
         ทำความสะอาดคราบน้ำมันดิบเท านั้นที่ควรมีการตรวจสุขภาพ แต ยังรวมไปถึงพนักงาน

         ที่เกี่ยวข องกับปฏิบัติการหยุดการรั่วไหลก็จำเป นต องได รับการตรวจสุขภาพ

               5. ในการเฝ าระวังนั้นข อมูลจำเป นต องมีการวิเคราะห และประเมินคุณภาพ

         อย างต อเนื่อง

               ข อหนึ่งที่เป นจุดเด นของการเฝ าระวังทางสุขภาพของเหตุการณ น้ำมันดิบรั่วไหล
         ของระยอง ในป พ.ศ. 2556 นั้น คือ การที่มีการวิเคราะห และประเมินคุณภาพ

         ของข อมูลที่เก็บอย างต อเนื่อง โดยหลายภาคส วน ได แก  โรงพยาบาลระยอง



                                       {085}
   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102