Page 95 - ถอดบทเรียนน้ำมันดิบรั่วไหล บริเวณจุดขนถ่ายกลางทะเลและหากแม่รำพึงจังหวัดระยอง ปี 2565
P. 95
ได น าสนใจ และมีการระบุประชากรที่เข าติดตามตามหลักวิชาการ กล าวคือ การติดตาม
หรือระบุ แบ งตามการประเมินความเสี่ยง โดยการนิยามและจัดลำดับความเสี่ยงตาม
ลักษณะงาน ชั่วโมงทำงาน และวันที่เข าปฏิบัติงาน โดยแบ งผู ที่ปฏิบัติงานเกิน
7 ชั่วโมงใน 3 วันแรกของการที่น้ำมันดิบรั่วไหล และทำงานสัมผัสน้ำมันโดยตรง
เป นกลุ มเสี่ยงสูง แบ งผู ที่ปฏิบัติงานไม เกิน 7 ชั่วโมงใน 3 วันแรกของการที่น้ำมันดิบ
รั่วไหล หรือปฏิบัติงานเกิน 7 ชั่วโมงในวันต อๆ มา แต สัมผัสน้ำมันโดยตรง เป นกลุ มเสี่ยง
ปานกลาง และกลุ มอื่นๆ ที่เหลือเป นกลุ มเสี่ยงต่ำ และมีการติดตามประชากร
3 กลุ มนี้ ในความถี่ที่แตกต างกัน
ในส วนนี้นั้นจะเห็นว ายังมีโอกาสพัฒนา ซึ่งในกลุ มของผู เชี่ยวชาญเกี่ยวกับ Risk
assessment ได ให แนวคิดไว ว า การประเมินความเสี่ยงที่แม นยำ จำเป นจะต องใช
การประเมินเชิงปริมาณเข ามาช วยให การประเมินความเสี่ยงนั้นแม นยำมากขึ้น ดังเช น
บทความของ Anderson และคณะ ซึ่งกล าวว า การประเมินความเสี่ยงในป จจุบันและ
อนาคตนั้นควรมีความซับซ อนและใช เทคโนโลยีในการชั่ง ตวง วัด และประมาณค า
เป นโอกาสไม ใช เพียงการตัดกลุ มเป นเสี่ยงมากหรือเสี่ยงน อย ด วยวิธีเชิงคุณภาพ
(Anderson et al., 2020)
ตัวอย างนึงที่อาจเป นไปได ในการประเมินความเสี่ยงนี้ คือ การใช การตรวจดัชนี
ชี้วัดทางสุขภาพที่มีความแม นยำ ได แก การตรวจวัดระดับ S-phenyl mercapturic
acid ในป สสาวะ สำหรับเป นตัวแทนการสัมผัส Benzene และ 1-Hydroxypyrene
Glucuronide (1-OHPG) ดังงานวิจัยของ ธรรมสินธ อิงวิยะและคณะ โดยพบว า ระดับ
ของ 1-OHPG นั้นสัมพันธ กับวันที่ปฏิบัติงาน มากกว าลักษณะงานของอาสาสมัคร
เก็บกู น้ำมันดิบในทะเลระยองในช วง เดือนกรกฎาคม ป พ.ศ. 2556 (Ingviya et al.,
2020)
{083}