Page 94 - ถอดบทเรียนน้ำมันดิบรั่วไหล บริเวณจุดขนถ่ายกลางทะเลและหากแม่รำพึงจังหวัดระยอง ปี 2565
P. 94

!!!!!!"#!การติดตามผลลัพธ ของนโยบายเพื่อบรรเทาและแก ไขป ญหา (Tracking

       Evaluation of Interventions)

       !!!!!!$#!การติดตามความสัมพันธ ระหว างข อ 1 2 และ 3 (Tracking of the Association

       between Hazard, Exposure and Selected Health Outcome)
       !!!!!!%#!การติดตามการสื่อสารความเสี่ยง (Tracking of Risk Communication)

       !!!!!!การเฝ าระวังทางสุขภาพจากการสัมผัสฝุ นละอองขนาดเล็กส วนใหญ มีลักษณะ

       เฝ าระวังโดยใช ข อมูลแบบอนุกรมเวลา โดยศึกษาความสัมพันธ ของค าฝุ นละอองใน
       อากาศกับผลกระทบทางสุขภาพ ได แก  อัตราการป วย-ตายของประชากร จากระบบ

       ทางเดินหายใจ ระบบหัวใจและหลอดเลือด โรคมะเร็งปอด การเสียชีวิตก อนวัยอันควร

       โดยพิจารณาป จจัยร วมที่มีอิทธิพลผลกระทบทางสุขภาพ ทั้งป จจัยทางด านประชากร

       เช น อายุ เพศ ความไวรับของประชากร กลุ มอาชีพตามรหัสอาชีพ International

       Standard Classification of Occupation: ISCO-08 ศูนย มาตรฐานรหัสและข อมูล
       สุขภาพแห งชาติ และป จจัยด านเศรษฐกิจสังคมของประชากร มาร วมพิจารณาด วย




       องค์ประกอบของระบบเฝ้าระวังทางสาธารณสุขที่เกี่ยวกับอาชีวอนามัยและ
       อนามัยสิ่งแวดล้อม เชื่อมโยงกับเหตุการณ์น้ำมันดิบรั่วไหลลงสู่ทะเลระยอง

             โดยทั่วไปแล วระบบเฝ าระวังทางสุขภาพหรือสาธารณสุขที่เกี่ยวกับอาชีวอนามัย

       และอนามัยสิ่งแวดล อมนั้น มักประกอบไปด วยขั้นตอนหรือองค ประกอบที่ระบบ

       เฝ าระวัง พึงมีหรือควรมี ได แก   (ประยุกต จาก (Trout, 2011))
       !!!!!!1. ส วนของนิยามหรือการระบุกลุ มของคนงานหรือประชากรที่ระบบเฝ าระวัง

       ควรติดตามหรือเหมาะสมที่จะติดตาม

       !!!!!!ในส วนนี้นั้นนับว า หน วยงานทางสาธารณสุขในจังหวัดระยองมีการปฏิบัติการ



                                       {082}
   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98   99