Page 282 - พินิจด้วยรัก พิทักษ์ด้วยใจ : พัฒนาสุขภาวะเด็กไทย ด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการ
P. 282

ตัวแปร                 จ�านวน  ร้อยละ  ร้อยละสะสม
             แนะน�าวิธีการปฏิเสธไม่สูบ                17    26.2
             แสดงความเชื่อมั่นและไว้วางใจว่าจะเลิกได้ส�าเร็จ   10  15.4
             ให้โอกาสเยาวชนท�ากิจกรรมอื่นๆ ที่ผ่อนคลาย และชอบ  9  13.8

                    จากตารางที่ 16 ประวัติการสูบบุหรี่เพื่อการบ�าบัดของศูนย์ฝึกและอบรม
            เด็กและเยาวชนอุเบกขา พบว่า ประเภทของยาสูบที่ใช้มากที่สุดคือ บุหรี่โรงงาน
            คิดเป็นร้อยละ 44.6 รองลงมา คือ หลายๆชนิดรวมกัน มีอะไรก็สูบ ทั้งบุหรี่โรงงาน
            บุหรี่ไฟฟ้า บารากูร์ บุหรี่น�าเข้า และบุหรี่มวนเอง คิดเป็นร้อยละ 30.8 และ ยาฉุน
            ยาเส้น บุหรี่มวนเอง คิดเป็นร้อยละ 18.5 ตามล�าดับ
                    ประวัติเวลาในการสูบบุหรี่มวนแรก พบว่า เวลาที่มีการสูบบุหรี่มวนแรก
            มากที่สุก คือ หลังตื่นนอน คิดเป็นร้อยละ 61.5 รองลงมา คือ หลังรับประทาน

            อาหารเช้า คิดเป็นร้อยละ 13.8 และ หลายช่วงเวลา เช่น ตื่นนอน หลังอาหาร
            ไปเรียน/ท�างาน เป็นต้น
                    ประวัติประสบการเคยเลิกบุหรี่ มากที่สุก คือไม่เคยเลิก คิดเป็นร้อยละ 60
            รองลงมาคือ เลิก คิดเป็นร้อยละ 38.5 และไม่ระบุร้อยละ 1.5 ตามล�าดับ และมีวิธี
            การในการเลิกบุหรี่ โดยมีวิธีการที่ใช้มากที่สุด คือ การลดจ�านวนการสูบลง คิดเป็น

            ร้อยละ 40.0 รองลงมาคือ อื่นๆหลายวิธีรวมกัน เช่น ค่อยๆลดร่วมกับอมทอฟฟี่และ
            เคี้ยวหมากฝรั่ง คิดเป็นร้อยละ 30.8 และ เลิกสูบเพราะถูกจับเข้าศูนย์ฝึกฯ คิดเป็น
            ร้อยละ 18.5 และมีความต้องการในการเลิกบุหรี่มากที่สุด คือ ต้องการเลิก คิดเป็น
            ร้อยละ 72.3 รองลงมาคือ ไม่ต้องการเลิก และไม่ระบุ คิดเป็นร้อยละ 21.5 และ
            6.2 ตามล�าดับ
                    ประวัติการสูบบุหรี่ของสมาชิกในครอบครัว มี สมาชิกในครอบครัวสูบบุหรี่
            เช่น พ่อ พี่ชาย ลุง ตา ปู อา แม่ สามี น้องชาย เพื่อน เป็นต้น คิดเป็นร้อยละ 69.2

            และ ไม่มีสมาชิกในครอบครัวสูบบุหรี่ คิดเป็นร้อยละ 30.8 ส�าหรับสาเหตุที่เลิกบุหรี่
            ในครั้งนี้ อันดับหนึ่งคือ ด้านสุขภาพ คิดเป็นร้อยละ 41.5 รองลงมาคือ ไม่ระบุ และ
            ด้านเศรษฐกิจ คิดเป็นร้อยละ 13.8
                    สาเหตุที่สูบบุหรี่ มากที่สุดคือ อยากลอง คิดเป็นร้อยละ 67.7 รองลงมา คือ
            เบื่อ เซง คิดเป็นร้อยละ 50.8 และเวลามากเกินไป คิดเป็นร้อยละ 46.2 ส�าหรับ


                            พินิจด้วยรัก พิทักษ์ด้วยใจ:พัฒนาสุขภาวะเด็กไทยด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการ   281
             Consider with Love, Protect with Heart: Health Development among Youth via Participation Action Research
   277   278   279   280   281   282   283   284   285   286   287