Page 354 - พินิจด้วยรัก พิทักษ์ด้วยใจ : พัฒนาสุขภาวะเด็กไทย ด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการ
P. 354

ก�รศึกษ�ในครั้งนี้สอบคล้องกับก�รศึกษ�ของ พวงทิพย์ สังเกตุใจ (2563) ที่พบ

            ว่�ก�รส่งเสริมสุขภ�วะท�งจิตด้วยก�รใช้ดนตรีบำ�บัดและศิลปะบำ�บัด ช่วยให้สุข
            ภ�วะท�งจิตดีขึ้น โดยส�ม�รถช่วยลดคว�มเครียดในกลุ่มตัวอย่�งได้อย่�งมีนัยยะ
            สำ�คัญท�งสถิติ
                    ด้�นพฤติกรรมก�รลด ละ เลิกบุหรี่และก�รจัดสิ่งแวดล้อมปลอดบุหรี่ ใน

            ด้�นของพฤติกรรมก�รลด ละ เลิกบุหรี่พบว่� ในระยะหลังสิ้นสุดโครงก�รและระยะ
            3 เดือนเย�วชนมีอัตร�ก�รเลิกสูบบุหรี่สูง แต่ในรยะ 6 เดือนหลังเข้�ร่วมกิจกรรม
            พบว่�อัตร�ก�รเลิกบุหรี่ได้สำ�เร็จลดลงเหลือร้อยละ 75.8 เนื่องจ�กเย�วชนที่กลับ
            ไปสูบซำ้�ทุกร�ยเป็นเย�วชนได้ได้รับก�รปล่อยตัวออกจ�กศูนย์ฝึกและอบรมฯให้

            กลับไปใช้ชีวิตต�มปกติในสังคม ซึ่งเมื่อได้รับก�รปล่อยตัว เย�วชนกลับไปอ�ศัยอยู่
            กับครอบครัวและเพื่อนที่มีพฤติกรรมก�รสูบบุหรี่ รวมถึงเย�วชนส�ม�รถสูบบุหรี่
            ภ�ยในที่พักอ�ศัยของตนได้โดยไม่ผิดกฎหม�ย ซึ่งแตกต่�งจ�กก�รอ�ศัยอยู่ในศูนย์ฝึก
            และอบรมฯที่มีข้อห้�มและกฎหม�ยในก�รห้�มสูบบุหรี่อย่�งชัดเจน สอดคล้องกับ

            ก�รศึกษ�ถึงปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับก�รสูบบุหรี่ของเย�วชนที่พบว่�ก�รเสพบุหรี่ของ
            เย�วชนมักเกี่ยวข้องกับก�รสูบบุหรี่ของคนในครอบครัวและเพื่อนสนิท รวมถึงก�ร
            รับรู้กฎหม�ยควบคุมย�สูบ (ลักษมล ลักษณะวิมล et al., 2563) สำ�หรับอัตร�คว�ม
            สำ�เร็จในก�รบำ�บัดในระยะ 6 เดือน ที่เลิกบุหรี่ได้สำ�เร็จร้อยละ 75.8 ใกล้เคียงกับผล

            สำ�เร็จก�รบำ�บัดบุหรี่เชิงรับในสถ�นพย�บ�ลที่พบอัตร�ก�รเลิกบุหรี่สำ�เร็จในระยะ
            3 เดือนและ 6 เดือนคือร้อยละ 70.5,62.3 ต�มลำ�ดับ(รัตติย� เพชรน้อย et al.,
            2553) ในด้�นก�รจัดสิ่งแวดล้อมปลอดบุหรี่พบว่�ภ�พหลังเข้�ร่วมโครงก�รเย�วชน
            มีก�รรับรู้ร่วมถึงมีส่วนร่วมในก�รจัดสิ่งแวดล้อมปลอดบุหรี่เพิ่มม�กขึ้น ซึ่งเกิดจ�ก

            ในกิจกรรมส่งเสริมให้เย�วชนได้ลงมือปฏิบัติทำ�ด้วยตนเองเช่น ก�รติดสติ๊กเกอร์
            ห้�มสูบบุหรี่ ก�รชักชวนเพื่อนเย�วชนรับใหม่เข้�สู่ก�รเลิกบุหรี่ ก�รเรียนรู้และก�ร
            เลิกบุหรี่ด้วยตนเอง เป็นต้น จึงทำ�ให้เย�วชนเกิดก�รเรียนรู้จ�กประก�รณ์คว�ม
            สำ�เร็จของตนเอง ซึ่งเรียนรู้ผ่�นประก�รณ์คว�มสำ�เร็จของตนเองย่อมให้ให้เกิด

            คว�มมั่นใจในก�รปฏิบัติพฤติกรรมและเกิดก�รปฏิบัติกรรมนั้นต�มม� (Bandura,
            1997) ดังนั้นเมื่อเย�วชนผู้เข้�ร่วมกิจกรรมเกิดก�รเรียนรู้ผ่�นประสบก�รณ์ของ


                            พินิจด้วยรัก พิทักษ์ด้วยใจ:พัฒนาสุขภาวะเด็กไทยด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการ   353
             Consider with Love, Protect with Heart: Health Development among Youth via Participation Action Research
   349   350   351   352   353   354   355   356   357   358   359